เบงกอง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เบงกอง (เมิ่ง กวาง)
孟光
เสนาบดีคลัง(大司農 ต้าซือหนง)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. ? (?) – ค.ศ. ? (?)
กษัตริย์เล่าเสี้ยน
เสนาบดีเจ้ากรมมหาดเล็กแห่งวังฉางเล่อ
(長樂少府 ฉางเล่อเฉาฝู่)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. ? (?) – ค.ศ. ? (?)
กษัตริย์เล่าเสี้ยน
นายกองทหารม้าประจำการ
(屯騎校尉 ถุนฉีเซี่ยวเว่ย)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. ? (?) – ค.ศ. ? (?)
กษัตริย์เล่าเสี้ยน
หัวหน้าสำนักเครื่องราชอิสริยาภรณ์
(符節令 ฝูเจี๋ยลิ่ง)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 223 (223) – ค.ศ. ? (?)
กษัตริย์เล่าเสี้ยน
ขุนนางที่ปรึกษา (議郎 อี้หลาง)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 214 (214) – ค.ศ. ? (?)
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิดไม่ทราบ
นครลั่วหยาง มณฑลเหอหนาน
เสียชีวิตไม่ทราบ
ญาติ
  • เมิ่ง ยฺวี่ (ญาติ)
  • เมิ่ง เปิน (ญาติ)
อาชีพขุนนาง, บัณฑิต
ชื่อรองเซี่ยวยฺวี่ (孝裕)

เบงกอง[a] หรือ เบงก๋อง[b] (มีบทบาทในช่วงทศวรรษ 190 – ศตวรรษที่ 3) มีชื่อในภาษาจีนกลางว่า เมิ่ง กวาง (จีน: 孟光; พินอิน: Mèng Guāng) ชื่อรอง เซี่ยวยฺวี่ (จีน: 孝裕; พินอิน: Xiàoyù) เป็นขุนนางและบัณฑิตของรัฐจ๊กก๊กในยุคสามก๊กของจีน

ประวัติ[แก้]

เบงกองเป็นชาวนครลกเอี๋ยง (洛陽 ลั่วหยาง) ในเขตเมืองโห้หล้ำ (河南 เหอหนาน) ซึ่งคือนครลั่วหยาง มณฑลเหอหนานในปัจจุบัน เบงกองเกิดในยุตราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ญาติของเบงกองชื่อเมิ่ง ยฺวี่ (孟郁) รับราชการเป็นเสนาบดีกลาโหม (太尉 ไท่เว่ย์) ในราชสำนักฮั่น[3][4] พี่ชายของเมิ่ง ยฺวี่ชื่อเมิ่ง เปิน (孟賁) เป็นขันทีในตำแหน่งผู้ถวายงานกลาง (中常侍 จงฉางชื่อ)[5][6] เบงกองเริ่มรับราชการในฐานะเจ้าหน้าที่ระดับล่างในสำนักหนึ่งของราชสำนักในช่วงปลายรัชสมัยพระเจ้าเลนเต้ (ครองราชย์ ค.ศ. 168–189)[7]

ดูเพิ่ม[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

  1. ชื่อที่ปรากฏในสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ตอนที่ 63[1]
  2. ชื่อที่ปรากฏในสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ตอนที่ 70[2]

อ้างอิง[แก้]

  1. ("ขงเบ้งจึงใช้ให้เคาจูเบงกองไปปลูกโรงอภิเษกสำเร็จแล้ว ก็เตรียมเครื่องอภิเษกทั้งปวงตามอย่างกษัตริย์") "สามก๊ก ตอนที่ ๖๓". วัชรญาณ. สืบค้นเมื่อ August 10, 2023.
  2. ("เจาจิ๋วก็ห้ามปรามเปนหลายครั้ง ขงเบ้งก็มิได้ฟัง จึงสั่งให้ กุยฮิวจี๋ บิฮุย ตันอุ๋น เฮียงทง ตันจีน เจียวอ้วน เตียวฮี เตาเขง โตบี เอียวฮอง เบงก๋อง ไลบิน อินเบด ลิจวน ฮุยสี เจาจิ๋ว กับขุนนางผู้ใหญ่ร้อยเศษ คุมทหารอยู่รักษาเมืองเสฉวน") "สามก๊ก ตอนที่ ๗๐". วัชรญาณ. สืบค้นเมื่อ August 10, 2023.
  3. (孟光字孝裕,河南洛陽人,漢太尉孟郁之族。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 42.
  4. de Crespigny (2007), p. 670.
  5. (續漢書曰:郁,中常侍孟賁之弟。) อรรถาธิบายจากซฺวี่ฮั่นชูในจดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 42.
  6. de Crespigny (2007), pp. 665–666.
  7. (靈帝末為講部吏。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 42.

บรรณานุกรม[แก้]