เล่าตำ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เล่าตำ (หลิว เหยี่ยน)
劉琰
ขุนพลทหารม้าและรถรบ
(車騎將軍 เชอฉีเจียงจฺวิน)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 230 (230) – ค.ศ. 234 (234)
กษัตริย์เล่าเสี้ยน
หัวหน้ารัฐบาลจูกัดเหลียง
เสนาบดีรักษาราชวัง (衛尉 เว่ย์เว่ย์)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 223 (223) – ค.ศ. ? (?)
กษัตริย์เล่าเสี้ยน
หัวหน้ารัฐบาลจูกัดเหลียง
ที่ปรึกษาการทหารส่วนกลาง
(中軍師 จงจฺวินซือ)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 223 (223) – ค.ศ. ? (?)
กษัตริย์เล่าเสี้ยน
หัวหน้ารัฐบาลจูกัดเหลียง
ขุนพลทัพหลัง (後將軍 โฮฺ่วเจียงจฺวิน)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 223 (223) – ค.ศ. ? (?)
กษัตริย์เล่าเสี้ยน
หัวหน้ารัฐบาลจูกัดเหลียง
เจ้าเมืองกู้หลิง (固陵太守 กู้หลิงไท่โฉ่ว)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 214 (214) – ค.ศ. 223 (223)
กษัตริย์เล่าปี่
หัวหน้ารัฐบาลจูกัดเหลียง
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิดไม่ทราบ
นครชฺวีฟู่ มณฑลชานตง
เสียชีวิตค.ศ. 234
นครเฉิงตู มณฑลเสฉวน
คู่สมรสหูชื่อ
อาชีพขุนพล
ชื่อรองเวย์ชั่ว (威碩)
บรรดาศักดิ์ตูเซียงโหฺว
(都鄉侯)

เล่าตำ[1] หรือ เล่าต้าย[2] (เสียชีวิต ค.ศ. 234) มีชื่อในภาษาจีนกลางว่า หลิว เหยี่ยน (จีน: 劉琰; พินอิน: Liú Yǎn) ชื่อรอง เวย์ชั่ว (จีน: 威碩; พินอิน: Wēishuò) เป็นขุนนางของรัฐจ๊กก๊กในยุคสามก๊กของจีนที่รับราชการมาอย่างยาวนาน โดยรับใช้ขุนศึกเล่าปี่ตั้งแต่ช่วงปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก เล่าตำเป็นผู้มีหน้าตาดีและพูดเก่ง มีตำแหน่งราชการสูงและเป็นที่ชื่นชมอย่างมาก แต่เป็นที่สงสัยในเรื่องความสามารถเพราะมีตำแหน่งสูงส่งเกินกว่าผลงานที่ปฏิบัติและมีปัญหาในเรื่องการเมาสุรา เคยเกือบถูกไล่ออกจากราชการหลังมีเรื่องราววิวาทกับอุยเอี๋ยน ต่อมาเล่าตำมีปัญหากับหูชื่อผู้เป็นภรรยาและทำร้ายหูชื่อโดยการให้ทหารใช้รองเท้าฟาดหน้าเพราะสงสัยว่าหูชื่อลอบมีความสัมพันธ์กับจักรพรรดิเล่าเสี้ยน หูชื่อจึงฟ้องร้องเรื่องพฤติกรรมของเล่าตำ จักรพรรดิเล่าเสี้ยนจึงมีรับสั่งให้ประหารชีวิตเล่าตำ[3][4]

การรับราชการช่วงต้นภายใต้เล่าปี่[แก้]

รับราชการกับเล่าเสี้ยน[แก้]

ความตกต่ำและถูกประหารชีวิต[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. ("แล้วขงเบ้งก็ถวายบังคมลามาที่อยู่ จึงจัดแจงนายทหารสามสิบคน อุยเอี๋ยน เตียวเอ๊ก อองเป๋ง ลิอิ๋น ลิหงี ม้าต้าย เลียวฮัว ม้าตง เตียวหงี เล่าตำ เปงจี๋ ม้าเจ๊ก อ้วนหลิม งออี้ โกเสียง งอปัน เอียวหงี เล่าเป๋า เคาอิ้น เตงหำ เล่าปิ้น กัวหยง ออจี้ เงี้ยมอ้าน เหียนสิบ ตอหงี ตอกี๋ เซงฮู ฮวนกี๋ อวนเกี๋ยน ตังควด กวนหิน เตียวเปา จะยกไปตีเมืองฮูโต๋") "สามก๊ก ตอนที่ ๗๐". วัชรญาณ. สืบค้นเมื่อ August 17, 2023.
  2. ("ขงเบ้งจึงว่า บัดนี้การในเมืองลำอั๋นเราก็ทำสำเร็จแล้ว แต่ทหารซึ่งเราใช้ให้ถือหนังสือไปเมืองเทียนซุยนั้นยังไม่กลับมา จะเปนประการใดก็มิได้แจ้ง จำเราจะยกกองทัพไปตีเอาเมืองเทียนซุยให้ได้ แล้วจึงให้เล่าต้ายอยู่รักษาเมือง ให้อุยเอี๋ยนคุมทหารเปนกองหน้ายกล่วงไปก่อน ตัวขงเบ้งก็ยกไปภายหลัง") "สามก๊ก ตอนที่ ๗๐". วัชรญาณ. สืบค้นเมื่อ September 12, 2023.
  3. จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 40.
  4. De Crespigny, Rafe (2007). A Biographical Dictionary of Later Han to the Three Kingdoms (23–220 AD) (ภาษาอังกฤษ). Boston: Brill. p. 573. ISBN 9789004156050.

บรรณานุกรม[แก้]