ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ตั้งอยู่ที่ถนนแจ้งวัฒนะ เป็นสถานที่ที่รวมหน่วยงานราชการต่างๆไว้ในที่เดียวกัน รวมทั้งสิ้น 29 หน่วยงาน เช่น กระทรวงยุติธรรม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงการต่างประเทศ และสำนักงานตำรวจแห่งชาติเป็นต้น โดยมีแนวคิดในการบริหารพื้นที่ราชพัสดุ และทรัพยากรของราชการร่วมกันเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด[1] [2] โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารศูนย์ราชการ ในวันอาทิตย์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2556
เนื้อหา
ประวัติของโครงการ[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
ความเป็นมาของโครงการ[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
ที่ตั้งโครงการ[แก้]
โครงการฯตั้งอยู่ที่ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร
วัตถุประสงค์ของโครงการ[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
หน่วยงานที่รับผิดชอบ[แก้]
หน่วยงานที่รับผิดชอบในการดำเนินโครงการศูนย์ราชการฯคือ บริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จำกัด มีประธานกรรมการคือ นายจักรกฤศฏิ์ พาราพันธกุล
องค์ประกอบของโครงการ[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
แนวความคิดของโครงการ[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
แนวความคิดในการออกแบบ[แก้]
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ ได้รับการออกแบบเสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยเป็นสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น ทันสมัย และสะท้อนความเป็นเอกลักษณ์ของชาติ ด้วยการออกแบบที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศ ผสมผสานธรรมชาติเข้ากับการออกแบบได้อย่างลงตัว ตอบสนองความต้องการใช้งานของแต่ละหน่วยงาน และสามารถปรับเปลี่ยนการใช้งานได้ตามความเหมาะสม ขณะเดียวกันก็สามารถอำนวยความสะดวกในการติดต่อประสานงานทั้งระหว่างหน่วยงาน เอง และระหว่างหน่วยงานกับประชาชนได้เป็นอย่างดี สิ่งสำคัญ คือ อาคารศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติฯ แห่งนี้ จะช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงาน สนับสนุนการให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ตลอดจนสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการเป็น อาคารประหยัดพลังงาน ทั้งในส่วนของ การออกแบบ และการใช้ ระบบ Co-Generation
การออกแบบโครงสร้างอาคาร[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
แนวความคิดในการบริหารจัดการ[แก้]
![]() |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้
|
การจัดสรรพื้นที่[แก้]
อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (อาคาร A) รวมหน่วยงานยุติธรรม[แก้]
- สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
- กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
- กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
- กรมคุมประพฤติ
- ศาลรัฐธรรมนูญ
- สำนักงานอัยการสูงสุด
- ศาลฎีกา
- ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลาง
- ศาลล้มละลายกลาง
- สำนักกิจการยุติธรรม
อาคารรัฐประศาสนภักดี (อาคาร B) รวมหน่วยงานราชการ[แก้]
- สถาบันนิติวิทยาศาสตร์
- สำนักงานกิจการยุติธรรม
- กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
- สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
- สำนักงานสถิติแห่งชาติ
- สำนักงานนิติวิทยาศาสตร์ตำรวจ
- สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง
- กรมการพัฒนาชุมชน
- กรมที่ดิน
- กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
- กรมธนารักษ์
- สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 9 กรมสรรพากร
- สถาบันพระปกเกล้า
- สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
- สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
- สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน
- สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
- สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)
- สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
- สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
- สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
- องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)
พื้นที่อื่นๆ[แก้]
- ศูนย์ประชุมวายุภักษ์
- โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ
อ้างอิง[แก้]
- ↑ http://www.dad.co.th
- ↑ สรุปผลการดำเนินงานของคณะกรรมการอำนวยการจัดระบบศูนย์ราชการ (กศร.) พ.ศ. 2539-2548, สำนักงานคณะกรรมการอำนวยการจัดระบบศูนย์ราชการ และ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2548.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
พิกัดภูมิศาสตร์: 13°53′00″N 100°34′00″E / 13.883256°N 100.566616°E