วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2
ชุดที่ 1 ชุดที่ 3
ภาพรวม
เขตอำนาจประเทศไทย
ที่ประชุมพระที่นั่งอนันตสมาคม
วาระ18 พฤศจิกายน 2490 – 29 พฤศจิกายน 2494
การเลือกตั้งแต่งตั้ง
รัฐบาลคณะรัฐมนตรีควง 3
คณะรัฐมนตรีควง 4
คณะรัฐมนตรีแปลก 3
คณะรัฐมนตรีแปลก 4
วุฒิสภา
สมาชิก301
ประธานเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ
รองประธานพระยาอัชราชทรงสิริ

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 2 (18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 100 ท่าน เท่ากับจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีอายุคราวละ 6 ปี มีพระราชกฤษฎีกาแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา เมื่อ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 สมาชิกชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพเมื่อ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 เนื่องจากมีการประกาศยึดอำนาจการปกครอง และนำรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 กลับมาใช้[1][2]

รายนามสมาชิกวุฒิสภา[แก้]

  1. พระยากฤตราชทรงสวัสดิ์ (สุดใจ ไกรจิตติ)
  2. พลโท หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต ลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง พันเอก พระยาสุรพันธเสนี (อิ้น บุนนาค) เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
  3. พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร) ลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง พันเอก เสงี่ยม รามณรงค์ เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
  4. พลเรือตรี พระจักรานุกรกิจ (วงส์ สุจริตกุล)
  5. พลเรือตรี เจริญ นายเรือ ลาออกเมื่อ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง พลตรี หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล เมื่อ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492
  6. นายจรินทร์ กฤษณะภักดี
  7. พระยาจินดารักษ์ (จำลอง จินดารักษ์ สวัสดิ-ชูโต)
  8. หม่อมเจ้าเฉลิมศรีจันทรทัต จันทรทัต
  9. พลโท พระยาเฉลิมอากาศ (สุณี สุวรรณประทีป)
  10. หลวงชลานุสสร (บุญเกิด รัตนเสน)
  11. หม่อมเจ้าชัชวลิต เกษมสันต์
  12. นายเชวง เคียงศิริ
  13. พระยาไชยยศสมบัติ (เสริม กฤษณามระ)
  14. พระยาชัยสุรินทร์ (ตาล บุนนาค) ลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง หม่อมเจ้าวิวัฒนไชย ไชยันต์ เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
  15. พระชัยปัญญา (ประชุม รัตนกุล)
  16. พันโท หลวงชัยอัศวรักษ์ (ไชย แสง-ชูโต)
  17. พันตำรวจตรี ชั้น รัศมิทัต ลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง พระยาศรีวิสารวาจา (หุ่น ฮุนตระกูล) เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
  18. พันเอก หลวงชำนาญยุทธศิลป์ ลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง พลตรี สวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติ เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
  19. พระยาดรุพันพิทักษ์ (สนิท พุกกะมาน)
  20. พลตรี พระยาดำรงแพทยาคุณ (ชื่น พุทธิแพทย์)
  21. พระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)
  22. พระยาทรงสุรรัชฏ์ (อนุสนธิ บุนนาค)
  23. พระทิพย์เบญญา (จิตร์ จุณณานนท์)
  24. พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล) ถึงแก่กรรมเมื่อ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง นายพจน์ สารสิน เมื่อ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2492
  25. พระยาโทณวณิกมนตรี (วิสุทธิ์ โทณวณิก)
  26. พระยานายกนรชนวิมลภักดี (เจริญ ปริยานนท์)
  27. พระนิตินัยประสาน (พงษ์ บุนนาค)
  28. นาวาตรี หลวงนิเทศกลกิจ (กลาง โรจนเสนา) ถึงแก่กรรมเมื่อ 5 กันยายน พ.ศ. 2491 แต่งตั้ง พระพิทักษ์ชินประชา (ม้าเสียง ตัณฑวณิช) เมื่อ 15 คุลาคม พ.ศ. 2491 และลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง นาวาเอก พระยาวิชิตชลธี (ทองดี สุวรรณพฤกษ์) เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
  29. พระยาบริรักษ์เวชชการ (บริรักษ์ ติตติรานนท์)
  30. พระยาบุรณศิริพงศ์ (ปราโมทย์ บุรณศิริ) ลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
  31. พระยาบำเรอภักดิ์ (สนิท จารุจินดา)
  32. นายบรรจง ศรีจรูญ
  33. พระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์)
  34. พระยาประชาศรัยสรเดช (ถาบ ประชาศรัยสรเดช)
  35. หลวงประกอบนิติสาร (ประกอบ บุณยัษฐิติ)
  36. พระยาปรีดานฤเบศร์ (ฟัก พันธุฟัก)
  37. นายผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา
  38. นายเผดิม อังสุวัฒนะ
  39. พระยาเพชรดา (สอาด ณ ป้อมเพชร) ถึงแก่กรรมเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง หม่อมเจ้าดิศานุวัตร ดิศกุล เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
  40. พระยาพนานุจร (เปล่ง สาครบุตร)
  41. นาวาเอก หม่อมเจ้าพรปรีชา กมลาศน์
  42. พลตรี พระยาพิไชยสงคราม (แก๊ป สรโยธิน)
  43. พระพิพิธภักดี (พิพิธ ภูมุกดา)
  44. มหาอำมาตย์ตรี พระยาพิพัฒนธนากร (ฉิม โปษยานนท์)
  45. พระเพชรคีรี (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง)
  46. พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)
  47. พระยาภิรมย์ภักดี ถึงแก่กรรมเมื่อ 23 มีนาคม พ.ศ. 2493 แต่งตั้ง พลอากาศโท หลวงเทวฤทธิ์พันลึก (กาพย์ ทัตตานนท์) เมื่อ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2493
  48. พลตรี เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ
  49. มหาอำมาตย์โท พระยาเมธาธิบดี (สาตร สุทธเสถียร)
  50. พระมนูภาณวิมลศาสตร์ (ชม จามรมาน)
  51. พระยามโหสถศรีพิพัฒน์ (เชิญ ปริชญานนท์) ถึงแก่กรรมเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง พลโท มังกร พรหมโยธี เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
  52. พลตรี เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) ลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้งพระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
  53. พันเอก พระยาฤทธิอัคเนย์ (สละ เอมะศิริ)
  54. นายเล้ง ศรีสมวงศ์ ลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง นางเลขา อภัยวงศ์ เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
  55. พลโท พระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์สิทธิ์ สุทัศน์)
  56. พลเรือตรี พระยาวิจารณ์จักรกิจ (บุญชัย สวาทะสุข)
  57. พลตรี พระยาวิบุลอายุรเวท (เสข ธรรมสโรช)
  58. พันเอก พระวิทยาสารรณยุต (หยัด วิทยาสารรณยุต)
  59. หม่อมเจ้าวัฒยากร เกษมศรี
  60. พลโท หม่อมเจ้าเสรฐศิริ กฤดากร
  61. เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)
  62. พระยาศรีธรรมราช (ทองคำ กาญจนโชติ)
  63. พันเอก พระยาศรีพิชัยสงคราม (เจริญ จันฉาย)
  64. พระยาศรีราชโกษา (ช่วง พีชานนท์)
  65. พลโท พระยาศรีสรราชภักดี (หม่อมราชวงศ์ฉาย กำภู)
  66. พระยาสมันตรัฐบุรินทร์ (ตุ๋ย บินอับดุลลาห์)
  67. พันเอก หม่อมสนิทวงศ์เสนี (หม่อมราชวงศ์ต้น สนิทวงศ์)
  68. นายสง่า วรรณดิษฐ์ ลาออกเมื่อ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 แต่งตั้ง พลตรี สวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติ เมื่อ 1 มกราคม พ.ศ. 2494
  69. นายสวัสดิ์ โอสถานุเคราะห์
  70. พระยาสารศาสตร์ศิริลักษณ์ (สรรเสริญ สุขยางค์) ถึงแก่กรรมเมื่อ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 แต่งตั้งพลอากาศโท พระศิลปศัสตราคม (ภักดิ์ เกษสำลี) เมื่อ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2494
  71. พระยาสาริกพงศธรรมพิลาส (สวัสดิ์ สาริกะภูติ)
  72. พันโท พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์) ลาออกเมื่อ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์) เมื่อ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2492
  73. พลตรี พระยาเสนีณรงค์ฤทธิ์ (หม่อมหลวงเล็ก สนิทวงศ์)
  74. หม่อมเจ้าสฤษดิเดช ชยางกูร
  75. พลโท พระยาสีหราชเดโชไชย (สวาสดิ์ บุนนาค)
  76. พลโท พระยาสีหราชฤทธิไกร (หม่อมหลวงชวย ฉัตรกุล)
  77. พระยาสุพรรณสมบัติ (ติณ บุนนาค)
  78. พลตรี พระยาสุรวงศ์วิวัฒน์ (เตี้ยม สุรวงศ์ บุนนาค)
  79. พระยาสุริยราชวราภัย (ศิริ วิเศษโกสิน)
  80. พระยาสุริยานุวงศ์ประวัติ (เต๋า บุนนาค)
  81. พระสุทธิอรรถนฤมนต์ (สุธ เลขยานนท์)
  82. พลตรี พระสุริยสัตย์ (สันต์ สุริยสัตย์)
  83. หลวงสุริยพงศ์พิสุทธิแพทย์ (กระจ่าง บุนนาค)
  84. นายสัญญา ยมะสมิต
  85. นาวาเอก หลวงสำรวจวิถีสมุทร์ (ฟุ้ง พร้อมสัมพันธ์)
  86. พลตรี หม่อมหลวงอภิรุม ชุมสาย ลาออกเมื่อ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 แต่งตั้ง พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค) เมื่อ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2492
  87. พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค) ลาออกเมื่อ 1 กันยายน พ.ศ. 2491 แต่งตั้ง จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เมื่อ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2491
  88. พลโท พระยาอภัยสงคราม (จอน โชติดิลก)
  89. พระยาอมาตยพงศ์ธรรมพิศาล (ประสงค์ อมาตยกุล)
  90. พลตรี พระยาอานุภาพไตรภพ (จำรัส เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
  91. พระยาอาณาจักร์บริบาล (สมบุญ สวรรคทัต)
  92. นายอาทร สังขะวัฒนะ
  93. พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)
  94. พันเอก หม่อมหลวงอังกาบ สนิทวงศ์
  95. พลตรี พระอุดมโยธาธิยุต (สด รัตนาวะดี)
  96. พระยาอรรถกรมมณุตตี (อรรถกรม ศรียาภัย)
  97. พระยาอรรถกฤตนิรุตติ์ (ชม เพ็ญชาติ์)
  98. พระอัพภันตราพาธพิศาล (กำจร พลางกูร)
  99. พลตรี พระยาอินทรวิชิต (รัตน อาวุธ อินทรวิชิต)
  100. หม่อมเจ้าอุปลีสาณ ชุมพล

รายนามสมาชิกวุฒิสภาที่สิ้นสุดสมาชิกภาพ[แก้]

โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 83 บัญญัติว่า "สมาชิกภาพแห่งสมาชิกวุฒิสภามีกำหนดเวลาคราวละ 6 ปี นับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง เฉพาะในวาระเริ่มแรกเมื่อครบกำหนด 3 ปี ให้มีการเปลี่ยนสมาชิกเป็นจำนวนกึ่งหนึ่งโดยวิธีจับสลาก" และตามข้อบังคับว่าด้วยการจับสลากของสมาชิกวุฒิสภาได้บัญญัติให้กระทำการจับสลาก ในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493

ดังนั้น สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภา จำนวน 50 ท่าน สิ้นสุดลงในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 ดังรายนามต่อไปนี้

  1. พลโท พระยาอภัยสงคราม (จอน โชติดิลก)
  2. พันโท หลวงชัยอัศวรักษ์ (ไชย แสง-ชูโต)
  3. พลตรี หม่อมสนิทวงศ์เสนี (หม่อมราชวงศ์ต้น สนิทวงศ์)
  4. พลโท พระยาสีหราชเดโชไชย (สวาสดิ์ บุนนาค)
  5. นายเชวง เคียงศิริ
  6. พระยาบริรักษ์เวชชการ (บริรักษ์ ติตติรานนท์)
  7. พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)
  8. พลเอก มังกร พรหมโยธี
  9. พระยาสาริกพงศธรรมพิลาส (สวัสดิ์ สาริกะภูติ)
  10. พลตรี พระสุริยสัตย์ (สันต์ สุริยสัตย์)
  11. คุณหญิง เลขา อภัยวงศ์
  12. พระยาศรีราชโกษา (ช่วง พีชานนท์)
  13. พลเรือตรี พระจักรานุกรกิจ (วงส์ สุจริตกุล)
  14. พระยาสุริยานุวงศ์ประวัติ (เต๋า บุนนาค)
  15. พลตรี พระยาอินทรวิชิต (รัตน อาวุธ อินทรวิชิต)
  16. พลตรี สวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย สวัสดิเกียรติ
  17. นายบรรจง ศรีจรูญ
  18. พระนิตินัยประสาน (พงษ์ บุนนาค)
  19. หลวงประกอบนิติสาร (ประกอบ บุณยัษฐิติ)
  20. พระอัพภันตราพาธพิศาล (กำจร พลางกูร)
  21. หลวงชลานุสสร (บุญเกิด รัตนเสน)
  22. พลโท พระยาสีหราชฤทธิไกร (หม่อมหลวงชวย ฉัตรกุล)
  23. นายสัญญา ยมะสมิต
  24. พระยาบำเรอภักดิ์ (สนิท จารุจินดา)
  25. พระยาจินดารักษ์ (จำลอง จินดารักษ์ สวัสดิ-ชูโต)
  26. นาวาเอก หม่อมเจ้าพรปรีชา กมลาศน์
  27. พันเอก พระรามณรงค์ (เสงี่ยม รามณรงค์)
  28. พระยากฤตราชทรงสวัสดิ์ (สุดใจ ไกรจิตติ)
  29. หม่อมเจ้าสฤษดิเดช ชยางกูร
  30. พลเรือตรี พระยาวิจารณ์จักรกิจ (บุญชัย สวาทะสุข)
  31. หม่อมเจ้าชัชวลิต เกษมสันต์
  32. พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)
  33. พระยาโทณวณิกมนตรี (วิสุทธิ โทณวณิก)
  34. พระเพชรคีรี (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง)
  35. หม่อมเจ้าดิศานุวัติ ดิศกุล
  36. พระทิพย์เบญญา (จิตร์ จุณณานนท์)
  37. พระยาเมธาธิบดี (สาตร สุทธเสถียร)
  38. พลตรี พระยาพิไชยสงคราม (แก๊ป สรโยธิน)
  39. พระชัยปัญญา (ประชุม รัตนกุล)
  40. หม่อมเจ้าอุปลีสาณ ชุมพล
  41. พลตรี หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล
  42. พลตรี พระอุดมโยธาธิยุต (สด รัตนาวะดี)
  43. นาวาเอก หลวงสำรวจวิถีสมุทร์ (ฟุ้ง พร้อมสัมพันธ์)
  44. ท่านผู้หญิง ละเอียด พิบูลสงคราม
  45. นายจรินทร์ กฤษณะภักดี
  46. พลโท พระยาศรีสรราชภักดี (หม่อมราชวงศ์ฉาย กำภู)
  47. พระมนูภาณวิมลศาสตร์ (ชม จามรมาน)
  48. พระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)
  49. พระยาอมาตยพงศ์ธรรมพิศาล (ประสงค์ อมาตยกุล)
  50. พระยาทรงสุรรัชฏ์ (อนุสนธิ บุนนาค)

รายนามสมาชิกวุฒิสภาใหม่[แก้]

ในวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 มีการแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภาใหม่ จำนวน 50 ท่าน แทนผู้ที่จับสลากออกเมื่อครบวาระ 3 ปี โดยมีคนเก่า 35 ท่าน และคนใหม่ 15 ท่าน ดังรายนามต่อไปนี้

สมาชิกเก่า 35 ท่าน[แก้]

  1. พลโท พระยาอภัยสงคราม (จอน โชติดิลก)
  2. พันโท หลวงชัยอัศวรักษ์ (ไชย แสง-ชูโต)
  3. พลตรี หม่อมสนิทวงศ์เสนี (หม่อมราชวงศ์ต้น สนิทวงศ์)
  4. พระยาบริรักษ์เวชชการ (บริรักษ์ ติตติรานนท์)
  5. พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)
  6. พลโท มังกร พรหมโยธี
  7. พระยาสาริกพงศธรรมพิลาส (สวัสดิ์ สาริกะภูติ)
  8. คุณหญิง เลขา อภัยวงศ์
  9. พระยาสุริยานุวงศ์ประวัติ (เต๋า บุนนาค)
  10. พลตรี พระยาอินทรวิชิต (รัตน อาวุธ อินทรวิชิต)
  11. นายบรรจง ศรีจรูญ
  12. พระนิตินัยประสาน (พงษ์ บุนนาค)
  13. หลวงประกอบนิติสาร (ประกอบ บุณยัษฐิติ)
  14. พระอัพภันตราพาธพิศาล (กำจร พลางกูร)
  15. หลวงชลานุสสร (บุญเกิด รัตนเสน)
  16. นาวาเอก หม่อมเจ้าพรปรีชา กมลาศน์
  17. พันเอก พระรามณรงค์ (เสงี่ยม รามณรงค์)
  18. พระยากฤตราชทรงสวัสดิ์ (สุดใจ ไกรจิตติ)
  19. หม่อมเจ้าสฤษดิเดช ชยางกูร
  20. หม่อมเจ้าชัชวลิต เกษมสันต์
  21. พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ)
  22. พระเพชรคีรี (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง)
  23. หม่อมเจ้าดิศศานุวัติ ดิศกุล
  24. พระยาเมธาธิบดี (สาตร สุทธเสถียร)
  25. พลตรี พระยาพิไชยสงคราม (แก๊ป สรโยธิน)
  26. พระชัยปัญญา (ประชุม รัตนกุล)
  27. หม่อมเจ้าอุปลีสาณ ชุมพล
  28. พลตรี หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงศ์ เทวกุล
  29. พลตรี พระอุดมโยธาธิยุต (สด รัตนาวะดี)
  30. นาวาเอก หลวงสำรวจวิถีสมุทร์ (ฟุ้ง พร้อมสัมพันธ์)
  31. ท่านผู้หญิง ละเอียด พิบูลสงคราม
  32. นายจรินทร์ กฤษณะภักดี
  33. พลโท พระยาศรีสรราชภักดี (หม่อมราชวงศ์ฉาย กำภู)
  34. พระมนูภาณวิมลศาสตร์ (ชม จามรมาน)
  35. พระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร)

สมาชิกใหม่ 15 ท่าน[แก้]

  1. นาวาเอก พระศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช)
  2. พันโท พระอาสาสงคราม (อาสาสงคราม หัสดิเสวี)
  3. พันตรี หลวงสรสิทธยานุการ (สิทธิ์ แสง-ชูโต)
  4. พระยาสัจจาภิรมย์ (สรวง ศรีเพ็ญ)
  5. นายจุลินทร์ ล่ำซำ
  6. นาวาโท หลวงชำนิกลการ (ฉา โพธิทัต)
  7. พลเรือตรี เล็ก สุมิตร
  8. พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)
  9. พระยาประกิตกลศาสตร์ (รุณชิตร์ กาญจนวณิชย์)
  10. พลตรี บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา ถึงแก่กรรมเมื่อ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2494 แต่งตั้ง หม่อมเจ้าวิมวาทิตย์ รพีพัฒน์ เมื่อ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2494
  11. พลตรี น้อม เกตุนุติ
  12. พระสุขุมวินิจฉัย (สมุจย์ บุณยรัตพันธุ์)
  13. พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
  14. พระยาบริหารนิติธรรม (ชื้น ธรรมสโรช)
  15. นายจุล วัจนะคุปต์

อ้างอิง[แก้]

  1. "วุฒิสภา ชุดที่ ๒ (สมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. ๒๔๘๙)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2015-02-23.
  2. ประกาศใช้ รัฐธรรมนูญ 2475