วุฒิสภาไทย ชุดที่ 10

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วุฒิสภาไทย ชุดที่ 10
ชุดที่ 9 ชุดที่ 11
ภาพรวม
เขตอำนาจประเทศไทย
ที่ประชุมอาคารรัฐสภา
วาระ2 มีนาคม พ.ศ. 2551 – 1 มีนาคม พ.ศ. 2557
การเลือกตั้งการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2551 (76)
การสรรหาสมาชิกวุฒิสภาไทย พ.ศ. 2551 (73)
รัฐบาลคณะรัฐมนตรีสมัคร
คณะรัฐมนตรีสมชาย
คณะรัฐมนตรีอภิสิทธิ์
คณะรัฐมนตรียิ่งลักษณ์
วุฒิสภา
สมาชิก150
ประธานประสพสุข บุญเดช
ตั้งแต่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2551
ธีรเดช มีเพียร
ตั้งแต่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
นิคม ไวยรัชพานิช
ตั้งแต่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2555
รองประธานคนที่ 1นิคม ไวยรัชพานิช
ตั้งแต่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2551
สุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย
ตั้งแต่ 4 กันยายน พ.ศ. 2555
รองประธานคนที่ 2ทัศนา บุญทอง
ตั้งแต่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2551
พรทิพย์ โล่ห์วีระ จันทร์รัตนปรีดา
ตั้งแต่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2554
อนันต์ อริยะชัยพาณิชย์
ตั้งแต่ 22 เมษายน พ.ศ. 2556

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 10 (18 มีนาคม พ.ศ. 2551 - 1 มีนาคม พ.ศ. 2557) เป็นสมาชิกชุดแรกที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน ควบคู่กับการสรรหา จากการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2551[1] และการสรรหาสมาชิกวุฒิสภาไทย พ.ศ. 2551[2]

รายชื่อสมาชิกวุฒิสภา[แก้]

แบบเลือกตั้ง[แก้]

ประกาศผลครั้งแรก[3]

  1. กรุงเทพมหานคร นางสาวรสนา โตสิตระกูล
  2. กระบี่ นายภิญโญ สายนุ้ย
  3. กาญจนบุรี นายสุรพงษ์ ตันธนศรีกุล
  4. กาฬสินธุ์ นายสิทธิศักดิ์ ยนต์ตระกูล
  5. กำแพงเพชร นายกฤช อาทิตย์แก้ว
  6. จันทบุรี นายมงคล ศรีคำแหง
  7. ฉะเชิงเทรา นายนิคม ไวยรัชพานิช
  8. ชลบุรี นายสุรชัย ชัยตระกูลทอง
  9. ชัยนาท นางจิตร์ธนา ยิ่งทวีลาภา
  10. ชุมพร พลตรี กลชัย สุวรรณบูรณ์
  11. เชียงราย นางจิราวรรณ จงสุทธนามณี วัฒนศิริธร
  12. เชียงใหม่ นายชูชัย เลิศพงศ์อดิศร
  13. ตรัง นายวิเชียร คันฉ่อง
  14. ตราด นายสุพจน์ เลียดประถม
  15. ตาก นายชรินทร์ หาญสืบสาย
  16. นครปฐม นายสมชาติ พรรณพัฒน์
  17. นครพนม นายวิทยา อินาลา
  18. นครราชสีมา นายสุเมธ ศรีพงษ์
  19. นครศรีธรรมราช นายสิริวัฒน์ ไกรสินธุ์
  20. นนทบุรี นายดิเรก ถึงฝั่ง
  21. นราธิวาส นายมูหามะรอสดี บอตอ
  22. น่าน นายโสภณ ศรีมาเหล็ก
  23. บุรีรัมย์ นายทวีศักดิ์ คิดบรรจง
  24. ปทุมธานี นายไพบูลย์ ซำศิริพงษ์
  25. ประจวบคีรีขันธ์ นายธันว์ ออสุวรรณ
  26. ปราจีนบุรี นายสุรเดช จิรัฐิติเจริญ
  27. ปัตตานี นายวรวิทย์ บารู
  28. พระนครศรีอยุธยา นางสาวเกศสิณี แขวัฒนะ
  29. พะเยา พลโท พงศ์เอก อภิรักษ์โยธิน
  30. พังงา นายมานพนอย วานิช
  31. พัทลุง นายเจริญ ภักดีวานิช
  32. พิจิตร นายบรรชา พงศ์อายุกูล
  33. พิษณุโลก นางสาวพิกุลแก้ว ไกรฤกษ์
  34. เพชรบุรี นางสาวสุมล สุตะวิริยะวัฒน์
  35. แพร่ นายขวัญชัย พนมขวัญ
  36. ภูเก็ต นางธันยรัศมี อัจฉริยะฉาย
  37. มหาสารคาม นายประวัติ ทองสมบูรณ์
  38. มุกดาหาร พันตำรวจโท จิตต์ มุกดาธนพงศ์
  39. แม่ฮ่องสอน นายบุญส่ง โควาวิสารัช
  40. ยโสธร นายยุทธนา ยุพฤทธ ิ์
  41. ยะลา นายต่วนอับดุลเล๊าะ ดาโอ๊ะมารียอ
  42. ร้อยเอ็ด นายจตุรงค์ ธีระกนก
  43. ระนอง นายพรพจน์ กังวาล --> นายชัยภัทร เศรษฐยุกานนท์ (เลือกตั้งแทน)
  44. ระยอง นายสาย กังกเวคิน
  45. ราชบุรี นายเกชา ศักดิ์สมบูรณ์
  46. ลพบุรี นายวรวิทย์ วงษ์สุวรรณ์
  47. ลำปาง นายพีระ มานะทัศน์
  48. ลำพูน นายสมศักดิ์ บุญเปลื้อง
  49. เลย พลตำรวจตรี องอาจ สุวรรณสิงห์
  50. ศรีสะเกษ นายจิตติพจน์ วิริยะโรจน์
  51. สกลนคร นายประดิษฐ์ ตันวัฒนะพงษ์
  52. สงขลา นายประเสริฐ ชิตพงศ์
  53. สตูล นายสุริยา ปันจอร์
  54. สมุทรปราการ นายสุโข วุฑฒิโชติ
  55. สมุทรสงคราม นายสุรจิต ชิรเวทย์
  56. สมุทรสาคร นายสุวิศว์ เมฆเสรีกุล
  57. สระบุรี นายจรัล จึงยิ่งเรืองรุ่ง
  58. สิงห์บุรี นายศุภวัฒน์ เทียนถาวร
  59. สุโขทัย นางสุอำภา คชไกร
  60. สุพรรณบุรี นายประสิทธิ์ โพธสุธน
  61. สุราษฎร์ธานี พลตำรวจโท มาโนช ไกรวงศ์
  62. สุรินทร์ นายอนันต์ อริยะชัยพาณิชย์
  63. หนองคาย พลตำรวจตรี ขจร สัยวัตร์
  64. หนองบัวลำภู นายรักพงษ์ ณ อุบล
  65. อ่างทอง พลตำรวจเอก โกวิท ภักดีภูมิ
  66. อำนาจเจริญ นายบวรศักดิ์ คณาเสน
  67. อุดรธานี พลตำรวจโท พิชัย สุนทรสัจบูลย์
  68. อุตรดิตถ์ นางนฤมล ศิริวัฒน์
  69. อุทัยธานี นายสิงห์ชัย ทุ่งทอง
  70. อุบลราชธานี นายถนอม ส่งเสริม

ประกาศผลครั้งที่ 2[4]

  1. นครนายก นายธวัชชัย บุญมา

ประกาศผลครั้งที่ 3[5]

  1. ขอนแก่น นายประเสริฐ ประคุณศึกษาพันธ์
  2. ชัยภูมิ นางพรทิพย์ จันทร์รัตนปรีดา
  3. นครสวรรค์ นางอรพินท์ มั่นศิลป์ --> นางสาวศรีสกุล มั่นศิลป์ (เลือกตั้งแทน)
  4. เพชรบูรณ์ นางสมพร จูมั่น
  5. สระแก้ว พันตำรวจเอก พายัพ ทองชื่น

แบบสรรหา[แก้]

อ้างอิง[แก้]