ข้ามไปเนื้อหา

มวยไทยในวัฒนธรรมประชานิยม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

มวยไทยในวัฒนธรรมประชานิยม มวยไทยเป็นศิลปะการต่อสู้ที่ได้รับความนิยมอย่างมากใน อาเซียน, เอเชีย, ญี่ปุ่น, เกาหลี, ยุโรป, อเมริกา[1] รวมถึงประเทศรัสเซีย[2] ซึ่งความนิยมดังกล่าว นอกเหนือจากการเป็นกีฬาแล้ว มวยไทยยังได้รับการกล่าวว่าเป็นสื่อทางวัฒนธรรมที่สำคัญ[3] โดยได้มีการนำเสนอศิลปะมวยไทยในสื่อต่างๆหลายรูปแบบ ทั้งในรูปแบบของ ภาพยนตร์, รายการโทรทัศน์, หนังสือการ์ตูน, แอนิเมชัน[4] รวมถึงในรูปแบบของวิดีโอเกม

ประวัติ

[แก้]

มวยไทยเริ่มเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก ภายหลังจากที่โอซามู โนกูจิ ได้นำมวยไทยไปดัดแปลงเป็นมวยคิกบ็อกซิ่ง แล้วอ้างว่ามวยไทยลอกแบบมาจากคิกบ็อกซิ่ง ครูยอดธง เสนานันท์ จึงนำทัพนักกีฬามวยไทยไปชกกับนักมวยคิกบ็อกซิ่งชาวญี่ปุ่น เพื่อพิสูจน์ว่ามวยไทยคือศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวต้นตำรับที่มีมาช้านาน[5]

รวมทั้งอาจารย์สุรชัย ศิริสูตร์ เป็นบุคคลรายสำคัญ ผู้นำวิชามวยไทยไปเผยแพร่ในสหรัฐอเมริกาจนเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายอย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน[6] และในปัจจุบัน ทัชชกร ยีรัมย์ นักแสดงภาพยนตร์ชาวไทย ได้นำเสนอรูปแบบการต่อสู้โดยใช้วิชามวยไทยแบบต่างๆในฉากต่อสู้และเป็นที่ยอมรับไปทั่วโลก[7] รวมถึง ได้มีการจัดการแข่งขัน ไทยไฟท์ ซึ่งเป็นรายการแข่งขันระดับโลกที่ได้รับการสนับสนุนจากทั้งทางภาครัฐและเอกชน[8]

ภาพยนตร์

[แก้]

รายการโทรทัศน์

[แก้]

มังงะ–แอนิเมชัน

[แก้]
ลุมพินีกันดั้ม

สิ่งสืบเนื่องในกระแสวัฒนธรรมมวยไทย ส่งผลให้เกิดตัวละครในมังงะและแอนิเมชันที่มีชื่อเสียงหลายซีรีส์ อาทิ มีนักมวยไทย เช่น สมาน (อังกฤษ: Soman Sono Arikton) จากการ์ตูนเรื่อง ลูกเตะอสูร (ญี่ปุ่น: キックの鬼; อังกฤษ: Kick no Oni) เป็นนักมวยไทยที่ทำการต่อสู้กับนักคาราเต้ นามว่า ทาดาชิ ซาวามูระ โดยปรากฏตัวในรูปแบบการ์ตูนแอนิเมชัน[16][17] รวมทั้งมีการปรากฏตัวของตัวการ์ตูนที่ใช้วิชามวยไทยที่มีชื่อเสียงอาทิ:

ตัวละครการ์ตูน ซีรีส์ ตัวละครการ์ตูน ซีรีส์
มวยไทย ชูชัย ทาคาคาเอะ!! ราเม็งแมน แดร๊กคิวล่าแมน, พัมพุต ดราก้อนบอล
ซาวามูระ โนริทากะ
ฉ่ำอุรา
ถึงจะเห่ยแต่ก็สู้นะเฟ้ย บุนนาค สิงห์ประเสริฐ กัปตันสึบาสะ (ภาคเยาวชนโลก)
สามารถ ศรินทุ, ชาญเดช น้ำเสยิม
ธนากร อมรัตน์, ช้างน้อย จักรพงษ์
สิงห์ศักดิ์, ธงชัย[18]
จันนี่ สแกนเดอลัคกี้
ชิราโตะ เตมูร์ ชิน
คุณชายพันธุ์โชะ โคฮินาตะ มิโนรุ[19] ครุฑ เมืองสุรินทร์ ลุยแหลกเกินหลักสูตร
เกรียงอาจ สุวรรณภักดี ใครว่าข้าไม่เก่ง อาภาไชย หอภาไชย, ธีรวิทย์ โฆคิน
อากาศ แจ่มใส
เคนอิจิ ลูกแกะพันธุ์เสือ
โยธิน เบย์เบลด ศึกลูกข่างสะท้านฟ้า ลูซซูเรีย ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น!
ธานี ส.ศิลาชัย[20][21]
เฟย์
ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้าในไทย[22] มาโมรุ คิกบ็อกเซอร์มาโมรุ[4]
แอนน์ บุญช่วย แอมฟิเบีย เทียน ภารกิจล้างพันธุ์นรก
มะลิวัลย์ ธรรมารักษ์ ลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง เก้าล้าน วงศ์สวัสดิ์ กำปั้นอสูร โทคิตะ

วิดีโอเกม

[แก้]
สองนักมวยไทยลึกลับที่ปรากฏตัวในเกมสตรีทไฟท์เตอร์ III: นิว เจนเนอเรชัน

ในเกมต่อสู้ มักมีการสร้างตัวละครที่เป็นนักมวยไทยปรากฏตัวอยู่บ่อยครั้ง อาทิ:

ตัวละครเกม ซีรีส์ ตัวละครเกม ซีรีส์
สกัด, อาดอน, นะกัน, สมศักดิ์
โก ฮิบิกิ
สตรีทไฟท์เตอร์ โจ ฮิกาชิ
หัวใจ
ตำนานกาโร่เดนเซทสึ,
เดอะคิงออฟไฟท์เตอร์ส
คิง อาร์ทออฟไฟท์ติ้ง,
เดอะคิงออฟไฟท์เตอร์ส
แซ็ค เดธ ออร์ อะไลฟ์
แจ็กซ์ บริกส์ มอร์ทัลคอมแบ็ท แบรด เบิร์นส์ เวอร์ฌัวไฟท์เตอร์
บรูซ เออร์วิน, ฟ้าคำราม
โมคุจิน, อันโนว์
เทคเคน ชูร่า (นายขนมต้ม) เวิลด์ฮีโร่ ภาค 2
สามชาย ต้มยำกุ้ง ไฟท์เตอร์ฮิสทอรี่,
คาร์นอฟ รีเวนจ์
พยัคฆ์ สิทธิพิทักษ์ บูริกิวัน
ไอราวัณ กรานาโด้ เอสปาด้า PD-4 The Bouncer

ส่วนอื่นจากเกม

[แก้]
  • ใน สตรีทไฟท์เตอร์ III: นิว เจนเนอเรชัน ที่ฉากเคนย่า ซึ่งเป็นสเตจของเอเลนา จะมีผู้ฝึกวิชามวยไทยปรากฏอยู่บนสะพานไม้ในบางช่วง (ตั้งแต่ยกที่สองเป็นต้นไป)[23]
  • เคออส จาก โทชินเด็น สวมมงคลตลอดเวลาขณะทำการต่อสู้

อื่น ๆ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ม๊อด แสนสุข. พลิกอดีตสู่ปัจจุบัน. มวยสยามรายวัน. ปีที่ 19 ฉบับที่ 6891. วันพฤหัสบดีที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2555. หน้า 26
  2. เผยแพร่'มวยไทย'แดนหมีขาว ภารกิจล่าสุดของ'มูลนิธิไทย'. หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน. ปีที่ 35 ฉบับที่ 12493. วันพฤหัสบดีที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2555. ISSN 1686-8188. หน้า 32
  3. "อ่านความเป็นชาติผ่านมวยไทย". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-11-01. สืบค้นเมื่อ 2022-02-15.
  4. 4.0 4.1 The Global-Thai Backbone. กองบรรณาธิการ. THE COMPANY. ปีที่ 14 ฉบับที่ 166. กันยายน 2554. เลิฟแอนด์ลิฟเพรส. หน้า 101
  5. ประวัติศาสตร์มวยไทย เก็บถาวร 2011-07-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (อังกฤษ)
  6. ประวัติย่อของอาจารย์ชัย ศิริสูตร เก็บถาวร 2010-09-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (อังกฤษ)
  7. "ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ "จา พนม"". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-09-27. สืบค้นเมื่อ 2010-10-01.
  8. มวยไทยไทยไฟท์[ลิงก์เสีย]
  9. บิวตี้ฟูล บอกเซอร์
  10. The Global-Thai Backbone. กองบรรณาธิการ. THE COMPANY. ปีที่ 14 ฉบับที่ 166. กันยายน 2554. เลิฟแอนด์ลิฟเพรส. หน้า 100
  11. THE KICK
  12. ミス・ユニバースがタイ式ボクシング大使に (ญี่ปุ่น)
  13. แก้ม คว้า 3 รางวัล เผย มิสยูนิเวิร์ส ชอบชุดมวยไทย
  14. 【FREE】「マッハ!参」発売で愛川とKICK☆が応援団 (ญี่ปุ่น)
  15. 【DEEP】12・19格闘家デビューが決まったKICK☆「右ストレートは当たれば一発で倒せる」 (ญี่ปุ่น)
  16. มวยไทยอนิเมะ 1
  17. มวยไทยอนิเมะ 2
  18. 空手小公子 小日向海流 第01巻~第40巻 (ญี่ปุ่น)
  19. Karate Shoukoushi Kohinata Minoru เก็บถาวร 2010-07-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (ฝรั่งเศส)
  20. 태국에서 보물찾기 (เกาหลี)
  21. Daum Book - 태국에서 보물찾기 เก็บถาวร 2012-03-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (เกาหลี)
  22. ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้าในไทย. นานมีบุ๊คส์
  23. [http://fightingstreet.com/folders/variousinfofolder/ripofffolder/ripoffpage3.html Part 3: More of Capcom's rip offs - FightingStreet.com]
  24. เซนชู อนิเมะแมกกาซีน. ฉบับที่ 30. หน้า 33

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]