ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษากงกัณ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Escarbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ml:കൊങ്കണി
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
|lc3=gom|ld3=ภาษากอนกานีถิ่นกัว|notice=Indic}}
|lc3=gom|ld3=ภาษากอนกานีถิ่นกัว|notice=Indic}}


'''ภาษากอนกานี'''([[อักษรเทวนาครี]]: कोंकणी ; [[อักษรกันนาดา]]:ಕೊಂಕಣಿ; [[อักษรมาลายาลัม]]:കൊംകണീ ; [[อักษรโรมัน]]: Konknni ) เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน โดยมีคำศัพท์จากภาษาดราวิเดียนปนอยู่ด้วย ได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่นหลายภาษา ทั้ง[[ภาษาโปรตุเกส]] [[ภาษากันนาดา]] [[ภาษามราฐี]] [[ภาษาเปอร์เซีย]] และ[[ภาษาอาหรับ]] มีผู้พูดประมาณ 7.6 ล้านคน <ref name ="ethnolog_knn">http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=knn</ref> <ref name="ethno_92010">http://www.ethnologue.com/show_family.asp?subid=92010</ref>
'''ภาษากอนกานี'''([[อักษรเทวนาครี]]: कोंकणी ; [[อักษรกันนาดา]]:ಕೊಂಕಣಿ; [[อักษรมาลายาลัม]]:കൊംകണീ ; [[อักษรโรมัน]]: Konknni ) เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน โดยมีคำศัพท์จากภาษาดราวิเดียนปนอยู่ด้วย ได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่นหลายภาษา ทั้ง[[ภาษาโปรตุเกส]] [[ภาษากันนาดา]] [[ภาษามราฐี]] [[ภาษาเปอร์เซีย]] และ[[ภาษาอาหรับ]] มีผู้พูดประมาณ 7.6 ล้านคน <ref name ="ethnolog_knn">http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=knn</ref> <ref name="ethno_92010">http://www.ethnologue.com/show_family.asp?subid=92010</ref>แต่เดิมเชื่อกันว่าภาษานี้เป็นภาษาถิ่นของภาษามราฐี แต่หลักฐานที่พบภาษากอนกานีเกิดก่อนภาษามราฐีนานมาก จารึกภาษากอนกานีพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 1730 ขณะที่จารึกภาษามราฐีพบครั้งแรก เมื่อราว พ.ศ. 2100


== ลักษณะ ==
ภาษากอนกานีเป็นภาษาที่มีความหลากหลายในด้านการเรียงประโยคและรูปลักษณ์ของภาษา ไม่อาจจำแนกได้ว่าเป็นภาษาที่ใช้การเน้นเสียงหรือเป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ เป็นภาษาที่แยกเสียงสั้นยาวของสระเช่นเดียวกับภาษาในกลุ่มอินโด-อารยันอื่นๆ พยางค์ที่มีสระเสียงยาวมักเป็นพยางค์ที่เน้น

ภาษากอนกานีมีสระพื้นฐาน 16 เสียง พยัญชนะ 36 เสียง เสียงกึ่งสระ 5 เสียง เสียงออกตามไรฟัน 3 เสียง เสียงระบายลม 1 เสียง และมีเสียงประสมจำนวนมาก ความแตกต่างของสระนาสิกเป็นลักษณะพิเศษของภาษากอนกานี
==ประวัติ==
==ประวัติ==
===จุดเริ่มต้น===
จุดกำเนิดของภาษานี้ เดิมเป็นภาษาถิ่นของ[[ภาษาสันสกฤต]] ซึ่งมีการใช้คำที่ผิดไปจากมาตรฐาน แต่เดิมเชื่อกันว่าภาษานี้เป็นภาษาถิ่นของภาษามราฐี แต่หลักฐานที่พบภาษากอนกานีเกิดก่อนภาษามราฐีนานมาก จารึกภาษากอนกานีพบครั้งแรกเมื่อ [[พ.ศ. 1730]] ขณะที่จารึกภาษามราฐีพบครั้งแรก เมื่อราว [[พ.ศ. 2100]]
ภาษากอนกานีพัฒนาขึ้นในบริเวณ[[กอนกาน]]ซึ่งเป็นฉนวนแผ่นดินแคบๆระหว่างเขตภูเขาสหยทริและ[[ทะเลอาหรับ]]ทางฝั่งตะวันตกของอินเดีย โดยเฉพาะในโคมันตัก (ปัจจุบันคือ[[กัว]]) ทฤษฎีเกี่ยวกับกำเนิดของภาษากอนกานีมีสองแบบคือ
* ต้นกำเนิดของภาษากอนกานีคือกลุ่มพราหมณ์สรสวัต ผู้อยู่ตามฝั่ง[[แม่น้ำสรวสวตี]]ในอินเดียตะวันตกเฉียงเหนือเมื่อประมาณ 5,000 ปีมาแล้ว จากการเปลี่ยนแปลงของแม่น้ำเมื่อราว 1,357 ปีก่อนพุทธศักราช ทำให้มีการอพยพ กลุ่มผู้อพยพกลุ่มหนึ่งเข้ามาตั้งหลักแหล่งในบริเวณโคมันตัก คนกลุ่มนี้พูด[[ภาษาปรากฤต]]([[ภาษาเศารเสนี]]) ซึ่งต่อมาพัฒนาเป็นภาษากอนกานี
* ภาษากอนกานีเป็นภาษาท้องถิ่นที่ใช้พูดในหมู่ชาวโกกนาซึ่งถูกทำให้เป็นสันสกฤต ชนกลุ่มนี้ปัจจุบันอยู่ในทางเหนือของ[[รัฐมหาราษฏระ]]และทางใต้ของ[[รัฐคุชราต]]แต่อาจจะมีต้นกำเนิดมาจากเขตกอนกาน ผู้อพยพชาวอารยันที่เข้าสู่กอนกานนำภาษาของคนในท้องถิ่นมาใช้และเพิ่มศัพท์จากภาษาปรากฤตและ[[ภาษาสันสกฤต]]เข้าไป
===ช่วงแรก===
ภาษากอนกานีเป็นภาษาหลักในกัว เริ่มแรกเขียนด้วย[[อักษรพราหมี]] ต่อมาจึงเขียนด้วยอักษรเทวนาครี ใช้ในทางศาสนาและการค้ารวมทั้งในชีวิตประจำวัน

กลุ่มชนอื่นๆ ที่ใช้ภาษากอนกานีสำเนียงต่างๆ ได้แก่ชาวกอนกานมุสลิมในเขตรัตนกาลีและภัตกัล ซึ่งมีลักษณะของ[[ภาษาอาหรับ]]เข้ามาปนมาก ชนอีกกลุ่มหนึ่งที่ใช้ภาษากอนกานีคือชาวสิททิสซึ่งมาจาก[[เอธิโอเปีย]]
===การอพยพและการแยกเป็นส่วน===
การเข้ามาของ[[โปรตุเกส]]ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงมากในหมู่ของชาวกอนกานี ชาวกอนกานีบางส่วนเปลี่ยนไปนับถือ[[ศาสนาคริสต์]]และอิทธิพลทางศาสนาของโปรตุเกสทำให้ชาวกอนกานีบางส่วนอพยพออกไป การแบ่งแยกระหว่างชาวกอนกานีที่นับถือ[[ศาสนาฮินดู]]และคริสต์ทำให้ภาษากอนกานีแตกเป็นหลายสำเนียงยิ่งขึ้น

ภาษานี้แพร่ไปสู่เขตจนระหรือกรวลี (ชายฝั่งของการณตกะ) โกกัน-ปัตตะ (ชายฝั่งกอนกาน ส่วนของรัฐมหาราษฏระ) และ[[รัฐเกราลา]]ในช่วง 500 ปีหลัง การอพยพของชาวกอนกานีมีสาเหตุมาจากการปกครองกัวของโปรตุเกส

การอพยพของชาวคริสต์และฮินดูเกิดเป็น 3 ระลอก การอพยพครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2103 ซึ่งเป็นช่วงแรกที่โปรตุเกสเข้ามาปกครองกัว ครั้งที่ 2 เกิดเมื่อ พ.ศ. 2114 ในสงครามกับสุลต่านพิชปูร์ การอพยพครั้งที่ 3 เกิดขึ้นระหว่างสงครามในช่วง พ.ศ. 2226 - 2283 การอพยพในช่วงแรกเป็นผู้นับถือศาสนาฮินดู ส่วนสองครั้งหลัง ส่วนใหญ่เป็นชาวคริสต์
===ภาษากอนกานีในกัวของโปรตุเกส===
ในช่วงแรกของการเป็นอาณานิคมของโปรตุเกส มิชชันนารีให้ความสำคัญกับการแปลคัมภีร์ศาสนาคริสต์เป็นภาษาท้องถิ่นทั้งภาษากอนกานีและ[[ภาษามราฐี]]จนกระทั่ง พ.ศ. 2227 โปรตุเกสห้ามใช้ภาษาถิ่นในเขตปกครองของตน ซึ่งถือว่าเป็นภาษาสำหรับศาสนาฮินดู ให้ใช้[[ภาษาโปรตุเกส]]เป็นภาษาราชการแทน


ภาษานี้เป็นภาษาที่ใกล้จะตาย เนื่องจากการเข้ามาแทนที่ของภาษาตะวันตกเช่นภาษาโปรตุเกสและ[[ภาษาอังกฤษ]]ในหมู่ผู้นับถือ[[ศาสนาคริสต์]] ส่วนผู้นับถือ[[ศาสนาฮินดู]]หันไปพูดภาษามราฐี ปัจจุบันเป็นภาษาราชการของรัฐกัวและมีใช้แพร่หลายในรัฐนี้ หนังสือที่พิมพ์ด้วยภาษากอนกานีเล่มแรกคือ Doutrina Christan เขียนโดย โธมัส สตีเฟนส์ ชาวอังกฤษ การทำลายหนังสือของโปรตุเกสในราว พ.ศ. 2100 ทำให้หนังสือภาษากอนกานีเหลือน้อย จะมีอยู่บ้างเฉพาะนอกเขตอิทธิพลของโปรตุเกสเท่านั้น
ภาษานี้เป็นภาษาที่ใกล้จะตาย เนื่องจากการเข้ามาแทนที่ของภาษาตะวันตกเช่นภาษาโปรตุเกสและ[[ภาษาอังกฤษ]]ในหมู่ผู้นับถือ[[ศาสนาคริสต์]] ส่วนผู้นับถือ[[ศาสนาฮินดู]]หันไปพูดภาษามราฐี ปัจจุบันเป็นภาษาราชการของรัฐกัวและมีใช้แพร่หลายในรัฐนี้ หนังสือที่พิมพ์ด้วยภาษากอนกานีเล่มแรกคือ Doutrina Christan เขียนโดย โธมัส สตีเฟนส์ ชาวอังกฤษ การทำลายหนังสือของโปรตุเกสในราว พ.ศ. 2100 ทำให้หนังสือภาษากอนกานีเหลือน้อย จะมีอยู่บ้างเฉพาะนอกเขตอิทธิพลของโปรตุเกสเท่านั้น
บรรทัด 26: บรรทัด 45:


==ระบบการเขียน==
==ระบบการเขียน==

ภาษากอนกานีเขียนด้วยอักษณหลายชนิด ทั้ง [[อักษรเทวนาครี]] [[อักษรโรมัน]] (เริ่มสมัยอาณานิคมของโปรตุเกส) [[อักษรกันนาดา]] ใช้ในเขตมันกาลอร์ และชายฝั่งของรัฐการณาฏกะ [[อักษรอาหรับ]]ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลามที่เรียกว่า ภัทกาลี ชนกลุ่มนี้หันมานับถือ[[ศาสนาอิสลาม]]ในสมัยสุลต่านทิบบู อยู่ในเขตรัฐการณาฏกะ มีผู้เขียนด้วย[[อักษรมาลายาลัม]]กลุ่มเล็กๆในเกราลา แต่ปัจจุบันเริ่มหันมาใช้อักษรเทวนาครีแทน
ภาษากอนกานีเขียนด้วยอักษณหลายชนิด ทั้ง [[อักษรเทวนาครี]] [[อักษรโรมัน]] (เริ่มสมัยอาณานิคมของโปรตุเกส) [[อักษรกันนาดา]] ใช้ในเขตมันกาลอร์ และชายฝั่งของรัฐการณาฏกะ [[อักษรอาหรับ]]ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลามที่เรียกว่า ภัทกาลี ชนกลุ่มนี้หันมานับถือ[[ศาสนาอิสลาม]]ในสมัยสุลต่านทิบบู อยู่ในเขตรัฐการณาฏกะ มีผู้เขียนด้วย[[อักษรมาลายาลัม]]กลุ่มเล็กๆในเกราลา แต่ปัจจุบันเริ่มหันมาใช้อักษรเทวนาครีแทน

{|class="wikitable"
|+อักษรที่ใช้เขียนภาษากอนกานี
|-
!width="10%"|IPA !!width="10%"|[[อักษรเทวนาครี]]ปรับปรุง!!width="10%"|อักษรเทวนาครีมาตรฐาน!!width="10%"|[[อักษรละติน]]!!width="10%"|อักษรกันนาดา!!width="10%"|อักษรมาลายาลัม!!width="10%"|[[อักษรอาหรับ]]
<!-- |-
|IPAsym||Deva_grapheme||Deva_glyph||Roman||Kaannada||Mal||Arabic -->
<!-- Do not modify above this line copy and add below -->
|-align="center"
|{{IPA|/ɵ/}}||अ||अ||o||ಅ/ಒ||അ||?
|-align="center"
|{{IPA|/aː/}}||आ||आ||a||ಆ||ആ||?
|-align="center"
|{{IPA|/i/}}||इ||इ||i||ಇ||ഇ||?
|-align="center"
|{{IPA|/iː/}}||ई||ई||i||ಈ||ഈ||?
|-align="center"
|{{IPA|/u/}}||उ||उ||u||ಉ||ഉ||?
|-align="center"
|{{IPA|/uː/}}||ऊ||ऊ||u||ಊ||ഊ||?
|-align="center"
|{{IPA|/e/}}||ए||ए||e||ಎ||എ||?
|-align="center"
|{{IPA|/ɛ/}}||ऍ||ए||e||ಎ||ഏ||?
<!-- the next one may not have a devanagiri equivalent glyph but is used in Konkani -->
|-align="center"
|æ||no symbol||ए||{{IPA|/e/}}||ಎ or ಐ||ഐ||?
|-align="center"
|{{IPA|/ɵi/}}||ऐ||ऐ||ai/oi||ಐ||ഐ||?
|-align="center"
|{{IPA|/o/}}||ओ||ओ||o||ಒ||ഒ||?
|-align="center"
|{{IPA|/ɔ/}}||ऑ||ओ||o||ಒ||ഓ||?
|-align="center"
|{{IPA|/ɵu/}}||औ||ಔ||au/ou||||ഔ||?
|-align="center"
|{{IPA|/ⁿ/}}||अं||अं||om/on||ಅಂ||അം||?
<!-- the next one may not be present in Konkani -->
<!--|-align="center"
|IPAsym||अः||Dglyph||Roman||ಅಃ||അഃ||?-->
|-align="center"
|{{IPA|/k/}}||क||क||k||ಕ್||ക്||ک
|-align="center"
|{{IPA|/kʰ/}}||ख||ख||kh||ಖ್||ഖ്||که
|-align="center"
|{{IPA|/g/}}||ग||ग||g||ಗ್||ഗ്||ک
|-align="center"
|{{IPA|/gʱ/}}||घ||घ||gh||ಘ್||ഘ്||گه
|-align="center"
|{{IPA|/ŋ/}}||ङ||ंग||ng||ಙ||ങ്||ڭ
|-align="center"
|{{IPA|/ts/}}||च़||च़||ch||ಚ್||ത്സ്||څ
|-align="center"
|{{IPA|/c/}}||च||च||ch||ಚ್||ച്||چ
|-align="center"
|{{IPA|/cʰ/}}||छ||छ||chh||ಛ್||ഛ്||چه
|-align="center"
|{{IPA|/z/}}||ज़||ज़||z||ಜ||?||ز
|-align="center"
|{{IPA|/ɟ/}}||ज||ज||j||ಜ್||ജ്||ج
|-align="center"
|{{IPA|/zʰ/}}||झ़||झ़||zh||ಝ್||?||زه
|-align="center"
|{{IPA|/ɟʱ/}}||झ||झ||jh||ಝ್||ഝ്||جه
|-align="center"
|{{IPA|/ɲ/}}||ञ||ञ||nh||ಞ||ഞ്||ڃ
|-align="center"
|{{IPA|/ʈ/}}||ट||ट||tt||ಟ್||ട്||ټ
|-align="center"
|{{IPA|/ʈʰ/}}||ठ||ठ||tth||ಠ್||ഠ്||ټه
|-align="center"
|{{IPA|/ɖ/}}||ड||ड||dd||ಡ್||ഡ്||ډ
|-align="center"
|{{IPA|/ɖʱ/}}||ढ||ढ||ddh||ಢ್||ഢ്||ډه
|-align="center"
|{{IPA|/ɳ/}}||ण||ण||nn||ಣ್||ണ്||ڼ
|-align="center"
|{{IPA|/t̪/}}||त||त||t||ತ್||ത്||ت
|-align="center"
|{{IPA|/t̪ʰ/}}||थ||थ||th||ಥ್||ഥ്||ته
|-align="center"
|{{IPA|/d̪/}}||द||द||d||ದ್||ദ്||د
|-align="center"
|{{IPA|/d̪ʰ/}}||ध||ध||dh||ಧ್||ധ്||ده
|-align="center"
|{{IPA|/n/}}||न||न||n||ನ್||ന്||ن
|-align="center"
|{{IPA|/p/}}||प||प|||p||ಪ್||പ്||پ
<!-- this symbol below may not be used in Konkani -->
<!-- |-align="center"
|{{IPA|/pʰ/}}||फ||फ||ph||ಫ್||ഫ്||په -->
|-align="center"
|{{IPA|/f/}}||फ़||फ||f||ಫ್||?||ف
|-align="center"
|{{IPA|/b/}}||ब||ब||b||ಬ್||ബ്||ب
|-align="center"
|{{IPA|/bʱ/}}||भ||भ||bh||ಭ್||ഭ്||به
|-align="center"
|{{IPA|/m/}}||म||म||m||ಮ್||മ്||م
|-align="center"
|{{IPA|/j/}}||य||य||i/e/ie||ಯ್||യ്||ې
|-align="center"
|{{IPA|/ɾ/}}||र||र||r||ರ್||ര്||ر
|-align="center"
|{{IPA|/l/}}||ल||ल||l||ಲ್||ല്||ل
|-align="center"
|{{IPA|/ʃ/}}||श||श||x||ಶ್||ഷ്||ش
|-align="center"
|{{IPA|/ʂ/}}||ष||ष||x||ಷ್||ശ്||?
|-align="center"
|{{IPA|/s/}}||स||स||s||ಸ್||സ്||س
|-align="center"
|{{IPA|/ɦ/}}||ह||ह||h||ಹ್||ഹ്||?
|-align="center"
|{{IPA|/ɭ/}}||ळ||ळ||ll||ಳ್||ള്||?
|-align="center"
|{{IPA|/ʋ/}}||व||व||v||ವ್||വ്||ڤ
<!-- |-align="center"
|IPAsym||x||Dglyph||Roman||Kaannada||Mal||Arabic -->
|-
|}


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
บรรทัด 32: บรรทัด 173:


{{ภาษาราชการอินเดีย}}
{{ภาษาราชการอินเดีย}}
{{อินโด-อิหร่าน}}
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอินเดีย|กอนกานี]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอินเดีย|กอนกานี]]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:59, 11 เมษายน 2551

ภาษากอนกานี
कोंकणी Konknni ಕೊಂಕಣಿ കൊംകണീ koṃkaṇī
ประเทศที่มีการพูดอินเดีย
ภูมิภาคกอนกาน
จำนวนผู้พูด7.6 ล้านคน(ค่าประมาณ)  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรเทวนาครี(ทางการ), อักษรละติน, อักษรกันนาดา, อักษรมาลายาลัม และ อักษรอาหรับ
รหัสภาษา
ISO 639-2kok
ISO 639-3มีหลากหลาย:
kok – ภาษากอนกานี (ทั่วไป)
knn – ภาษากอนกานี (เฉพาะ)
gom – ภาษากอนกานีถิ่นกัว

ภาษากอนกานี(อักษรเทวนาครี: कोंकणी ; อักษรกันนาดา:ಕೊಂಕಣಿ; อักษรมาลายาลัม:കൊംകണീ ; อักษรโรมัน: Konknni ) เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน โดยมีคำศัพท์จากภาษาดราวิเดียนปนอยู่ด้วย ได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่นหลายภาษา ทั้งภาษาโปรตุเกส ภาษากันนาดา ภาษามราฐี ภาษาเปอร์เซีย และภาษาอาหรับ มีผู้พูดประมาณ 7.6 ล้านคน [1] [2]แต่เดิมเชื่อกันว่าภาษานี้เป็นภาษาถิ่นของภาษามราฐี แต่หลักฐานที่พบภาษากอนกานีเกิดก่อนภาษามราฐีนานมาก จารึกภาษากอนกานีพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 1730 ขณะที่จารึกภาษามราฐีพบครั้งแรก เมื่อราว พ.ศ. 2100

ลักษณะ

ภาษากอนกานีเป็นภาษาที่มีความหลากหลายในด้านการเรียงประโยคและรูปลักษณ์ของภาษา ไม่อาจจำแนกได้ว่าเป็นภาษาที่ใช้การเน้นเสียงหรือเป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์ เป็นภาษาที่แยกเสียงสั้นยาวของสระเช่นเดียวกับภาษาในกลุ่มอินโด-อารยันอื่นๆ พยางค์ที่มีสระเสียงยาวมักเป็นพยางค์ที่เน้น

ภาษากอนกานีมีสระพื้นฐาน 16 เสียง พยัญชนะ 36 เสียง เสียงกึ่งสระ 5 เสียง เสียงออกตามไรฟัน 3 เสียง เสียงระบายลม 1 เสียง และมีเสียงประสมจำนวนมาก ความแตกต่างของสระนาสิกเป็นลักษณะพิเศษของภาษากอนกานี

ประวัติ

จุดเริ่มต้น

ภาษากอนกานีพัฒนาขึ้นในบริเวณกอนกานซึ่งเป็นฉนวนแผ่นดินแคบๆระหว่างเขตภูเขาสหยทริและทะเลอาหรับทางฝั่งตะวันตกของอินเดีย โดยเฉพาะในโคมันตัก (ปัจจุบันคือกัว) ทฤษฎีเกี่ยวกับกำเนิดของภาษากอนกานีมีสองแบบคือ

  • ต้นกำเนิดของภาษากอนกานีคือกลุ่มพราหมณ์สรสวัต ผู้อยู่ตามฝั่งแม่น้ำสรวสวตีในอินเดียตะวันตกเฉียงเหนือเมื่อประมาณ 5,000 ปีมาแล้ว จากการเปลี่ยนแปลงของแม่น้ำเมื่อราว 1,357 ปีก่อนพุทธศักราช ทำให้มีการอพยพ กลุ่มผู้อพยพกลุ่มหนึ่งเข้ามาตั้งหลักแหล่งในบริเวณโคมันตัก คนกลุ่มนี้พูดภาษาปรากฤต(ภาษาเศารเสนี) ซึ่งต่อมาพัฒนาเป็นภาษากอนกานี
  • ภาษากอนกานีเป็นภาษาท้องถิ่นที่ใช้พูดในหมู่ชาวโกกนาซึ่งถูกทำให้เป็นสันสกฤต ชนกลุ่มนี้ปัจจุบันอยู่ในทางเหนือของรัฐมหาราษฏระและทางใต้ของรัฐคุชราตแต่อาจจะมีต้นกำเนิดมาจากเขตกอนกาน ผู้อพยพชาวอารยันที่เข้าสู่กอนกานนำภาษาของคนในท้องถิ่นมาใช้และเพิ่มศัพท์จากภาษาปรากฤตและภาษาสันสกฤตเข้าไป

ช่วงแรก

ภาษากอนกานีเป็นภาษาหลักในกัว เริ่มแรกเขียนด้วยอักษรพราหมี ต่อมาจึงเขียนด้วยอักษรเทวนาครี ใช้ในทางศาสนาและการค้ารวมทั้งในชีวิตประจำวัน

กลุ่มชนอื่นๆ ที่ใช้ภาษากอนกานีสำเนียงต่างๆ ได้แก่ชาวกอนกานมุสลิมในเขตรัตนกาลีและภัตกัล ซึ่งมีลักษณะของภาษาอาหรับเข้ามาปนมาก ชนอีกกลุ่มหนึ่งที่ใช้ภาษากอนกานีคือชาวสิททิสซึ่งมาจากเอธิโอเปีย

การอพยพและการแยกเป็นส่วน

การเข้ามาของโปรตุเกสทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงมากในหมู่ของชาวกอนกานี ชาวกอนกานีบางส่วนเปลี่ยนไปนับถือศาสนาคริสต์และอิทธิพลทางศาสนาของโปรตุเกสทำให้ชาวกอนกานีบางส่วนอพยพออกไป การแบ่งแยกระหว่างชาวกอนกานีที่นับถือศาสนาฮินดูและคริสต์ทำให้ภาษากอนกานีแตกเป็นหลายสำเนียงยิ่งขึ้น

ภาษานี้แพร่ไปสู่เขตจนระหรือกรวลี (ชายฝั่งของการณตกะ) โกกัน-ปัตตะ (ชายฝั่งกอนกาน ส่วนของรัฐมหาราษฏระ) และรัฐเกราลาในช่วง 500 ปีหลัง การอพยพของชาวกอนกานีมีสาเหตุมาจากการปกครองกัวของโปรตุเกส

การอพยพของชาวคริสต์และฮินดูเกิดเป็น 3 ระลอก การอพยพครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2103 ซึ่งเป็นช่วงแรกที่โปรตุเกสเข้ามาปกครองกัว ครั้งที่ 2 เกิดเมื่อ พ.ศ. 2114 ในสงครามกับสุลต่านพิชปูร์ การอพยพครั้งที่ 3 เกิดขึ้นระหว่างสงครามในช่วง พ.ศ. 2226 - 2283 การอพยพในช่วงแรกเป็นผู้นับถือศาสนาฮินดู ส่วนสองครั้งหลัง ส่วนใหญ่เป็นชาวคริสต์

ภาษากอนกานีในกัวของโปรตุเกส

ในช่วงแรกของการเป็นอาณานิคมของโปรตุเกส มิชชันนารีให้ความสำคัญกับการแปลคัมภีร์ศาสนาคริสต์เป็นภาษาท้องถิ่นทั้งภาษากอนกานีและภาษามราฐีจนกระทั่ง พ.ศ. 2227 โปรตุเกสห้ามใช้ภาษาถิ่นในเขตปกครองของตน ซึ่งถือว่าเป็นภาษาสำหรับศาสนาฮินดู ให้ใช้ภาษาโปรตุเกสเป็นภาษาราชการแทน

ภาษานี้เป็นภาษาที่ใกล้จะตาย เนื่องจากการเข้ามาแทนที่ของภาษาตะวันตกเช่นภาษาโปรตุเกสและภาษาอังกฤษในหมู่ผู้นับถือศาสนาคริสต์ ส่วนผู้นับถือศาสนาฮินดูหันไปพูดภาษามราฐี ปัจจุบันเป็นภาษาราชการของรัฐกัวและมีใช้แพร่หลายในรัฐนี้ หนังสือที่พิมพ์ด้วยภาษากอนกานีเล่มแรกคือ Doutrina Christan เขียนโดย โธมัส สตีเฟนส์ ชาวอังกฤษ การทำลายหนังสือของโปรตุเกสในราว พ.ศ. 2100 ทำให้หนังสือภาษากอนกานีเหลือน้อย จะมีอยู่บ้างเฉพาะนอกเขตอิทธิพลของโปรตุเกสเท่านั้น

การแพร่กระจาย

ภาษกอนกานีใช้พูดทั่วไปในเขตกอนกาน ซึ่งรวมถึง กัว ชายฝั่งตอนใต้ของรัฐมหาราษฏระ ชายฝั่งของรัฐการณาฏกะ และรัฐเกราลา แต่ละท้องถิ่นมีสำเนียงของตนเอง การแพร่กระจายของผู้พูดภาษานี้มีสาเหตุหลักจากการออพยพของชาวกัวเพื่อหลบหนีการปกครองของโปรตุเกส

ระบบการเขียน

ภาษากอนกานีเขียนด้วยอักษณหลายชนิด ทั้ง อักษรเทวนาครี อักษรโรมัน (เริ่มสมัยอาณานิคมของโปรตุเกส) อักษรกันนาดา ใช้ในเขตมันกาลอร์ และชายฝั่งของรัฐการณาฏกะ อักษรอาหรับในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลามที่เรียกว่า ภัทกาลี ชนกลุ่มนี้หันมานับถือศาสนาอิสลามในสมัยสุลต่านทิบบู อยู่ในเขตรัฐการณาฏกะ มีผู้เขียนด้วยอักษรมาลายาลัมกลุ่มเล็กๆในเกราลา แต่ปัจจุบันเริ่มหันมาใช้อักษรเทวนาครีแทน

อักษรที่ใช้เขียนภาษากอนกานี
IPA อักษรเทวนาครีปรับปรุง อักษรเทวนาครีมาตรฐาน อักษรละติน อักษรกันนาดา อักษรมาลายาลัม อักษรอาหรับ
/ɵ/ o ಅ/ಒ ?
/aː/ a ?
/i/ i ?
/iː/ i ?
/u/ u ?
/uː/ u ?
/e/ e ?
/ɛ/ e ?
æ no symbol /e/ ಎ or ಐ ?
/ɵi/ ai/oi ?
/o/ o ?
/ɔ/ o ?
/ɵu/ au/ou ?
/ⁿ/ अं अं om/on ಅಂ അം ?
/k/ k ಕ್ ക് ک
/kʰ/ kh ಖ್ ഖ് که
/g/ g ಗ್ ഗ് ک
/gʱ/ gh ಘ್ ഘ് گه
/ŋ/ ंग ng ങ് ڭ
/ts/ च़ च़ ch ಚ್ ത്സ് څ
/c/ ch ಚ್ ച് چ
/cʰ/ chh ಛ್ ഛ് چه
/z/ ज़ ज़ z ? ز
/ɟ/ j ಜ್ ജ് ج
/zʰ/ झ़ झ़ zh ಝ್ ? زه
/ɟʱ/ jh ಝ್ ഝ് جه
/ɲ/ nh ഞ് ڃ
/ʈ/ tt ಟ್ ട് ټ
/ʈʰ/ tth ಠ್ ഠ് ټه
/ɖ/ dd ಡ್ ഡ് ډ
/ɖʱ/ ddh ಢ್ ഢ് ډه
/ɳ/ nn ಣ್ ണ് ڼ
/t̪/ t ತ್ ത് ت
/t̪ʰ/ th ಥ್ ഥ് ته
/d̪/ d ದ್ ദ് د
/d̪ʰ/ dh ಧ್ ധ് ده
/n/ n ನ್ ന് ن
/p/ p ಪ್ പ് پ
/f/ फ़ f ಫ್ ? ف
/b/ b ಬ್ ബ് ب
/bʱ/ bh ಭ್ ഭ് به
/m/ m ಮ್ മ് م
/j/ i/e/ie ಯ್ യ് ې
/ɾ/ r ರ್ ര് ر
/l/ l ಲ್ ല് ل
/ʃ/ x ಶ್ ഷ് ش
/ʂ/ x ಷ್ ശ് ?
/s/ s ಸ್ സ് س
/ɦ/ h ಹ್ ഹ് ?
/ɭ/ ll ಳ್ ള് ?
/ʋ/ v ವ್ വ് ڤ

อ้างอิง

  1. http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=knn
  2. http://www.ethnologue.com/show_family.asp?subid=92010