ภาษากูรุง
ภาษากูรุง | |
---|---|
ประเทศที่มีการพูด | เนปาล, อินเดีย |
ภูมิภาค | เอเชียใต้ |
จำนวนผู้พูด | 227,918 คนในเนปาล (ไม่พบวันที่) |
ตระกูลภาษา | |
ระบบการเขียน | อักษรทิเบต, อักษรเทวนาครี |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | – |
ภาษากูรุง หรือ ภาษาตมุ กยี (Gurung หรือ Tamu Kyi,อักษรเทวนาครี:तमु क्यी ตมุ กยี) เป็นคำที่ใช้เรียก รวมภาษากูรุงตะวันตก (Western Gurung ISO 639-3: gvr) และภาษากูรุงตะวันออก (Eastern Gurung ISO 639-3: ggn) แม้ว่าการเข้าใจกันได้ของภาษาทั้งสองจะจำกัด ผู้พูดภาษากูรุงทั้งหมดในเนปาลมี 227,918 (พ.ศ. 2534) ภาษานี้อยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ชาวกูรุงเป็นชนกลุ่มน้อยที่ได้รับการยอมรับจากรัฐบาลเนปาล
การจัดจำแนก[แก้]
ใน ethnologue ภาษากูรุงแยกเป็นสองภาษาคือภาษากูรุงตะวันออกและตะวันตก
ไวยากรณ์[แก้]
ภาษากูรุงเป็นภาษาที่เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา ใช้ปรบท คำคุณศัพท์สัมพันธ์กับส่วนหน้าของนาม จัดเป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์
ระบบการเขียน[แก้]
ภาษากูรุงเขียนด้วยภาษาเทวนาครี
อ้างอิง[แก้]
- Ethnologue report
- Entry for Western Gurung at Rosetta Project เก็บถาวร 2008-05-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Entry for Eastern Gurung at Rosetta Project เก็บถาวร 2008-05-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
![]() |
บทความเกี่ยวกับภาษานี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ภาษา |