ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศไทยในโอลิมปิก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ahcuna (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่ การแก้ไขแบบเห็นภาพ
บรรทัด 737: บรรทัด 737:


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
ไทยพัฒนามาเรื่อยๆในโอลิมปิก ส่งนักกีฬาร่วมครั้งแรก 1952 (โอลิมปิกสมัยใหม่ครั้งแรก 1896) ใช้เวลาตั้ง 24 ปีกว่าจะได้เหรียญแรก จาก
พเยาว์ พูนธรัตน์ ปี 1976 ได้เหรียญทองแดง จากนั้นมาก็ได้เหรียญเงิน ทองแดงเรื่อยมาจนได้ทอง ใช้เวลา 20 ปี และมวยสากลสมัครเล่นเป็นกีฬาความหวังเดียวของไทย 1984 - 1 เงิน จากทวี อัมพรมหา (ขาวผ่อง สิทธิชูชัย) (ปี 1980 ไทยไม่ส่งนักกีฬาร่วมโอลิมปิกเพราะร่วมกับอเมริกาบอยคอตโซเวียตที่เป็นเจ้าภาพครั้งนั้นจากกรณีโซเวียตบุกอัฟกานิสถานในปี 1979) 1988 - 1 ทองแดง จากผจญ มูลสัน 1992 - 1 ทองแดง จากอาคม เฉ่งไล่ 1996 - 1 ทอง 1 ทองแดง จากสมรักษ์ คำสิงห์ และวิชัย ราชานนท์ (เป็นทองแรก และเป็นครั้งแรกที่ไทยได้เหรียญโอลิมปิกมากกว่า 1 เหรียญ) 2000 - 1 ทอง 2 ทองแดง จากวิจารณ์ พลฤทธิ์ (ทอง) พรชัย ทองบุราณ (ทองแดง) และเกษราภรณ์ สุตา (ทองแดง) เกษราภรณ์เป็นนักกีฬาหญิงคนแรกที่ได้เหรียญโอลิมปิก ยกน้ำหนักเป็นกีฬาที่สองที่ไทยได้เหรียญโอลิมปิก 2004 - 3 ทอง 1 เงิน 4 ทองแดง ครั้งนี้ไทยได้เหรียญทองมากที่สุด และเหรียญรวมมากที่สุด และยังเป็นครั้งแรกที่ไทยได้ครบทั้งเหรียญทอง เงิน และทองแดงในโอลิมปิกครั้งเดียว จากมนัส บุญจำนงค์ (ทอง) อุดมพร พลศักดิ์ (ทอง) ปวีณา ทองสุข (ทอง) (อุดมพรเป็นนักกีฬาหญิงคนแรกที่ได้เหรียญทองโอลิมปิก วันที่ 15 ส.ค. ปวีณาได้ทอง 20 ส.ค.) วรพจน์ เพชรขุ้ม (เงิน) สุริยา ปราสาทหินพิมาย (ทองแดง) วันดี คำเอี่ยม (ทองแดง) อารีย์ วิรัฐถาวร (ทองแดง) เยาวภา บูรพลชัย (ทองแดง) เยาวภาได้เหรียญทองแดงจากกีฬาเทควันโด ทำให้กีฬาเทควันโดเป็นกีฬาที่สามที่ไทยได้เหรียญโอลิมปิก ต่อจากมวยสากลสมัครเล่นและยกน้ำหนัก ในครั้งนี้มวยสากลสมัครเล่นเป็นกีฬาแรกของไทยที่ได้เหรียญครบทั้งสามเหรียญในครั้งเดียว 2008 - 2 ทอง 2 เงิน จากสมจิตร จงจอหอ (ทอง) ประภาวดี เจริญรัตนธารากุล (ทอง) บุตรี เผือดผ่อง (เงิน) มนัส บุญจำนงค์ (เงิน) มนัส บุญจำนงค์เป็นนักกีฬาไทยคนแรกที่ได้เหรียญจากโอลิมปิกสองครั้งติดต่อกัน 2012 - 2 เงิน 1 ทองแดง เป็นครั้งแรกในรอบ 16 ปีที่ไทยไม่ได้เหรียญทองจากโอลิมปิก ได้เหรียญจาก แก้ว พงษ์ประยูร (เงิน) พิมศิริ ศิริแก้ว (เงิน) ชนาธิป ซ้อนขำ (ทองแดง) 2016 - 2 ทอง 2 เงิน 2 ทองแดง - โสภิตา ธนสาร (ทอง) สุกัญญา ศรีสุราช (ทอง) เทวินทร์ หาญปราบ (เงิน) พิมศิริ ศิริแก้ว (เงิน) พาณิภัค วงศ์พัฒนกิจ (ทองแดง) สินธุ์เพชร กรวยทอง (ทองแดง)
* {{icon|category}} [[:หมวดหมู่:นักกีฬาโอลิมปิกทีมชาติไทย]]
* {{icon|category}} [[:หมวดหมู่:นักกีฬาโอลิมปิกทีมชาติไทย]]
* [[ประเทศไทยในพาราลิมปิก]]
* [[ประเทศไทยในพาราลิมปิก]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:47, 19 มีนาคม 2564

ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Country_alias บรรทัดที่ 187: Invalid country alias: nil
ใน
ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Country_alias บรรทัดที่ 187: Invalid country alias: nil
นักกีฬา462 คน (ชาย 341 คน / หญิง 121 คน) ใน 23 ชนิดกีฬา 158 รายการ
เหรียญ
ทอง
9
เงิน
8
ทองแดง
16
รวม
33
การเข้าร่วมในกีฬาฤดูร้อน
ฤดูร้อน
การเข้าร่วมในกีฬาฤดูหนาว
ฤดูหนาว

ประเทศไทยเข้าร่วมกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952 และได้ส่งนักกีฬาเข้าร่วมโอลิมปิกฤดูร้อนทุกครั้งตั้งแต่นั้นมา ยกเว้นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1980 ซึ่งไทยได้ร่วมการคว่ำบาตรที่นำโดยสหรัฐอเมริกา ประเทศไทยยังได้ส่งนักกีฬาเข้าร่วมโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งแรกในปี ค.ศ. 2002

นับตั้งแต่ประเทศไทยส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันครั้งแรก นักกีฬาไทยได้เหรียญรางวัลรวมทั้งหมด 33 เหรียญ โดยแบ่งเป็น 9 เหรียญทอง 8 เหรียญเงิน 16 เหรียญทองแดง

ตารางเหรียญ

แบ่งตามกีฬา โอลิมปิกฤดูร้อน

กีฬา ทอง เงิน ทองแดง รวม
ยกน้ำหนัก 5 2 7 14
มวยสากลสมัครเล่น 4 4 6 14
เทควันโด 0 2 3 5
รวม 9 8 16 33

นักกีฬาที่ได้รับเหรียญ

เหรียญ นักกีฬา การแข่งขัน กีฬา ชนิด
3 ทองแดง พเยาว์ พูนธรัตน์ แคนาดา มอนทรีอัล 1976 มวยสากลสมัครเล่น ชาย รุ่นฟลายเวท
2 เงิน ทวี อัมพรมหา สหรัฐ ลอสแอนเจลิส 1984 มวยสากลสมัครเล่น ชาย รุ่นไลท์เวลเตอร์เวท
3 ทองแดง ผจญ มูลสัน เกาหลีใต้ โซล 1988 มวยสากลสมัครเล่น ชาย รุ่นแบนตัมเวท
3 ทองแดง อาคม เฉ่งไล่ สเปน บาร์เซโลนา 1992 มวยสากลสมัครเล่น ชาย รุ่นเวลเตอร์เวท
1 ทอง สมรักษ์ คำสิงห์ สหรัฐ แอตแลนตา 1996 มวยสากลสมัครเล่น ชาย รุ่นฟีเทอร์เวท
3 ทองแดง วิชัย ราชานนท์ สหรัฐ แอตแลนตา 1996 มวยสากลสมัครเล่น ชาย รุ่นแบนตัมเวท
1 ทอง วิจารณ์ พลฤทธิ์ ออสเตรเลีย ซิดนีย์ 2000 มวยสากลสมัครเล่น ชาย รุ่นฟลายเวท
3 ทองแดง พรชัย ทองบุราณ ออสเตรเลีย ซิดนีย์ 2000 มวยสากลสมัครเล่น ชาย รุ่นไลท์มิดเดิลเวท
3 ทองแดง เกษราภรณ์ สุตา ออสเตรเลีย ซิดนีย์ 2000 ยกน้ำหนัก หญิง รุ่น 58 กก.
1 ทอง มนัส บุญจำนงค์ กรีซ เอเธนส์ 2004 มวยสากลสมัครเล่น ชาย รุ่นไลท์เวลเตอร์เวท
1 ทอง อุดมพร พลศักดิ์ กรีซ เอเธนส์ 2004 ยกน้ำหนัก หญิง รุ่น 53 กก.
1 ทอง ปวีณา ทองสุก กรีซ เอเธนส์ 2004 ยกน้ำหนัก หญิง รุ่น 75 กก.
2 เงิน วรพจน์ เพชรขุ้ม กรีซ เอเธนส์ 2004 มวยสากลสมัครเล่น ชาย รุ่นแบนตัมเวท
3 ทองแดง สุริยา ปราสาทหินพิมาย กรีซ เอเธนส์ 2004 มวยสากลสมัครเล่น ชาย รุ่นมิดเดิลเวท
3 ทองแดง เยาวภา บุรพลชัย กรีซ เอเธนส์ 2004 เทควันโด หญิง รุ่น 49 กก.
3 ทองแดง อารีย์ วิรัฐถาวร กรีซ เอเธนส์ 2004 ยกน้ำหนัก หญิง รุ่น 48 กก.
3 ทองแดง วันดี คำเอี่ยม กรีซ เอเธนส์ 2004 ยกน้ำหนัก หญิง รุ่น 58 กก.
1 ทอง สมจิตร จงจอหอ จีน ปักกิ่ง 2008 มวยสากลสมัครเล่น ชาย รุ่นฟลายเวท
1 ทอง ประภาวดี เจริญรัตนธารากูล จีน ปักกิ่ง 2008 ยกน้ำหนัก หญิง รุ่น 53 กก.
2 เงิน มนัส บุญจำนงค์ จีน ปักกิ่ง 2008 มวยสากลสมัครเล่น ชาย รุ่นไลท์เวลเตอร์เวท
2 เงิน บุตรี เผือดผ่อง จีน ปักกิ่ง 2008 เทควันโด หญิง รุ่น 49 กก.
3 ทองแดง เพ็ญศิริ เหล่าศิริกุล จีน ปักกิ่ง 2008 ยกน้ำหนัก หญิง รุ่น 48 กก.
3 ทองแดง วันดี คำเอี่ยม จีน ปักกิ่ง 2008 ยกน้ำหนัก หญิง รุ่น 58 กก.
2 เงิน แก้ว พงษ์ประยูร สหราชอาณาจักร ลอนดอน 2012 มวยสากลสมัครเล่น ชาย รุ่นฟลายเวท
2 เงิน พิมศิริ ศิริแก้ว สหราชอาณาจักร ลอนดอน 2012 ยกน้ำหนัก หญิง รุ่น 58 กก.
3 ทองแดง ชนาธิป ซ้อนขำ สหราชอาณาจักร ลอนดอน 2012 เทควันโด หญิง รุ่น 49 กก.
3 ทองแดง ศิริภุช กุลน้อย สหราชอาณาจักร ลอนดอน 2012 ยกน้ำหนัก หญิง รุ่น 58 กก.
1 ทอง โสภิตา ธนสาร บราซิล รีโอเดจาเนโร 2016 ยกน้ำหนัก หญิง รุ่น 48 กก.
1 ทอง สุกัญญา ศรีสุราช บราซิล รีโอเดจาเนโร 2016 ยกน้ำหนัก หญิง รุ่น 58 กก.
2 เงิน เทวินทร์ หาญปราบ บราซิล รีโอเดจาเนโร 2016 เทควันโด ชาย รุ่น 58 กก.
2 เงิน พิมศิริ ศิริแก้ว บราซิล รีโอเดจาเนโร 2016 ยกน้ำหนัก หญิง รุ่น 58 กก.
3 ทองแดง พาณิภัค วงศ์พัฒนกิจ บราซิล รีโอเดจาเนโร 2016 เทควันโด หญิง รุ่น 49 กก.
3 ทองแดง สินธุ์เพชร กรวยทอง บราซิล รีโอเดจาเนโร 2016 ยกน้ำหนัก ชาย รุ่น 56 กก.

นักกีฬาที่ได้รับเหรียญมากกว่า 1 เหรียญ

นักกีฬา กีฬา ปี การแข่งขัน เพศ 1 2 3 รวม
มนัส บุญจำนงค์ มวยสากลสมัครเล่น 2004–2008 ฤดูร้อน ชาย 1 1 0 2
พิมศิริ ศิริแก้ว ยกน้ำหนัก 2012–2016 ฤดูร้อน หญิง 0 2 0 2
วันดี คำเอี่ยม ยกน้ำหนัก 2004–2008 ฤดูร้อน หญิง 0 0 2 2
  • ตัวหนา คือนักกีฬาที่ยังทำการแข่งขันอยู่

นักกีฬาที่เข้าร่วม

ฤดูร้อน

กีฬา ฟินแลนด์
1952
ออสเตรเลีย
1956
อิตาลี
1960
ญี่ปุ่น
1964
เม็กซิโก
1968
เยอรมนี
1972
แคนาดา
1976
สหรัฐ
1984
เกาหลีใต้
1988
สเปน
1992
สหรัฐ
1996
ออสเตรเลีย
2000
กรีซ
2004
จีน
2008
สหราชอาณาจักร
2012
บราซิล
2016
ญี่ปุ่น
2020
ยิงธนู 3 2 1 1
กรีฑา 8 8 8 18 4 4 10 4 18 8 12 3 11 2 4
แบดมินตัน 8 7 6 8 4 6 7
บาสเกตบอล 9
มวยสากลสมัครเล่น 5 4 5 3 7 5 5 6 6 6 9 6 8 3 5
เรือแคนู 1
จักรยาน 8 7 7 6 1 1 2 1
กระโดดน้ำ 1 2 2
ขี่ม้า 1 1 3
ฟันดาบ 5 2 2
ฟุตบอล 11 17
กอล์ฟ 4
ยูโด 3 1 1 2 1 1 1
เรือพาย 1 1 1 2
เรือใบ 2 2 4 1 3 2 1 1 2 1 3 1 2 3 4 2
ยิงปืน 6 10 11 10 12 17 3 2 3 2 2 5 4 5 6
ว่ายน้ำ 2 2 5 6 8 6 2 2 2
เทเบิลเทนนิส 1 1 1 1 3
เทควันโด 4 3 3 3
เทนนิส 2 2 3 2 1 2
ยกน้ำหนัก 4 2 1 1 1 1 5 5 7 7 9
รวม 8 35 20 54 41 33 42 35 14 46 37 52 42 47 37 54 12

ฤดูหนาว

กีฬา สหรัฐ
2002
อิตาลี
2006
รัสเซีย
2014
เกาหลีใต้
2018
สกีลงเขา 2 2
สกีข้ามทุ่ง 1 1 2
รวม 1 1 2 4

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

ไทยพัฒนามาเรื่อยๆในโอลิมปิก ส่งนักกีฬาร่วมครั้งแรก 1952 (โอลิมปิกสมัยใหม่ครั้งแรก 1896) ใช้เวลาตั้ง 24 ปีกว่าจะได้เหรียญแรก จาก พเยาว์ พูนธรัตน์ ปี 1976 ได้เหรียญทองแดง จากนั้นมาก็ได้เหรียญเงิน ทองแดงเรื่อยมาจนได้ทอง ใช้เวลา 20 ปี และมวยสากลสมัครเล่นเป็นกีฬาความหวังเดียวของไทย 1984 - 1 เงิน จากทวี อัมพรมหา (ขาวผ่อง สิทธิชูชัย) (ปี 1980 ไทยไม่ส่งนักกีฬาร่วมโอลิมปิกเพราะร่วมกับอเมริกาบอยคอตโซเวียตที่เป็นเจ้าภาพครั้งนั้นจากกรณีโซเวียตบุกอัฟกานิสถานในปี 1979) 1988 - 1 ทองแดง จากผจญ มูลสัน 1992 - 1 ทองแดง จากอาคม เฉ่งไล่ 1996 - 1 ทอง 1 ทองแดง จากสมรักษ์ คำสิงห์ และวิชัย ราชานนท์ (เป็นทองแรก และเป็นครั้งแรกที่ไทยได้เหรียญโอลิมปิกมากกว่า 1 เหรียญ) 2000 - 1 ทอง 2 ทองแดง จากวิจารณ์ พลฤทธิ์ (ทอง) พรชัย ทองบุราณ (ทองแดง) และเกษราภรณ์ สุตา (ทองแดง) เกษราภรณ์เป็นนักกีฬาหญิงคนแรกที่ได้เหรียญโอลิมปิก ยกน้ำหนักเป็นกีฬาที่สองที่ไทยได้เหรียญโอลิมปิก 2004 - 3 ทอง 1 เงิน 4 ทองแดง ครั้งนี้ไทยได้เหรียญทองมากที่สุด และเหรียญรวมมากที่สุด และยังเป็นครั้งแรกที่ไทยได้ครบทั้งเหรียญทอง เงิน และทองแดงในโอลิมปิกครั้งเดียว จากมนัส บุญจำนงค์ (ทอง) อุดมพร พลศักดิ์ (ทอง) ปวีณา ทองสุข (ทอง) (อุดมพรเป็นนักกีฬาหญิงคนแรกที่ได้เหรียญทองโอลิมปิก วันที่ 15 ส.ค. ปวีณาได้ทอง 20 ส.ค.) วรพจน์ เพชรขุ้ม (เงิน) สุริยา ปราสาทหินพิมาย (ทองแดง) วันดี คำเอี่ยม (ทองแดง) อารีย์ วิรัฐถาวร (ทองแดง) เยาวภา บูรพลชัย (ทองแดง) เยาวภาได้เหรียญทองแดงจากกีฬาเทควันโด ทำให้กีฬาเทควันโดเป็นกีฬาที่สามที่ไทยได้เหรียญโอลิมปิก ต่อจากมวยสากลสมัครเล่นและยกน้ำหนัก ในครั้งนี้มวยสากลสมัครเล่นเป็นกีฬาแรกของไทยที่ได้เหรียญครบทั้งสามเหรียญในครั้งเดียว 2008 - 2 ทอง 2 เงิน จากสมจิตร จงจอหอ (ทอง) ประภาวดี เจริญรัตนธารากุล (ทอง) บุตรี เผือดผ่อง (เงิน) มนัส บุญจำนงค์ (เงิน) มนัส บุญจำนงค์เป็นนักกีฬาไทยคนแรกที่ได้เหรียญจากโอลิมปิกสองครั้งติดต่อกัน 2012 - 2 เงิน 1 ทองแดง เป็นครั้งแรกในรอบ 16 ปีที่ไทยไม่ได้เหรียญทองจากโอลิมปิก ได้เหรียญจาก แก้ว พงษ์ประยูร (เงิน) พิมศิริ ศิริแก้ว (เงิน) ชนาธิป ซ้อนขำ (ทองแดง) 2016 - 2 ทอง 2 เงิน 2 ทองแดง - โสภิตา ธนสาร (ทอง) สุกัญญา ศรีสุราช (ทอง) เทวินทร์ หาญปราบ (เงิน) พิมศิริ ศิริแก้ว (เงิน) พาณิภัค วงศ์พัฒนกิจ (ทองแดง) สินธุ์เพชร กรวยทอง (ทองแดง)