ข้ามไปเนื้อหา

ประเทศไนจีเรียในโอลิมปิก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประเทศไนจีเรีย
ในโอลิมปิก
รหัสไอโอซีNGR
เอ็นโอซีคณะกรรมการโอลิมปิกไนจีเรีย
เหรียญ
อันดับ 74
ทอง
3
เงิน
11
ทองแดง
13
รวม
27
การเข้าร่วมในกีฬาฤดูร้อน

ประเทศไนจีเรีย เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี ค.ศ. 1952 และส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนทุกรายการตั้งแต่นั้นมา ยกเว้นที่คว่ำบาตรการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 ประเทศไนจีเรียเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 โดยมีนักกีฬาหญิงที่มีผ่านการคัดเลือกในกีฬาบอบสเลและสเกเลตัน[1]

นักกีฬาชาวไนจีเรียได้รับรางวัลทั้งหมด 25 เหรียญ ส่วนใหญ่เป็นประเภทกรีฑาและมวยสากล ทีมฟุตบอลคว้าเหรียญทองในปี 1996 ในปี 2008 หลังจากที่คณะกรรมการโอลิมปิกสากลตัดสินใจถอดเหรียญรางวัลของทีมวิ่งผลัด 4 × 400 เมตรของสหรัฐ หลังจากที่ อันโตนิโอ เพ็ตติกรูว์ สารภาพว่าใช้ยาเพิ่มสมรรถภาพ คู่แข่งชาวไนจีเรียจึงได้รับรางวัล เหรียญทอง[2][3] ไนจีเรียยังได้รับเหรียญรางวัลในประเภทเทควันโดรุ่นเฮฟวี่เวทในโอลิมปิกฤดูร้อน 1992 เนื่องจากยังเป็นเพียงกีฬาสาธิต เหรียญเงินของเอ็มมานูเอล โอเกเนโจโบ จึงไม่ถูกนับเป็นชัยชนะอย่างเป็นทางการ[4]

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติของไนจีเรียคือ คณะกรรมการโอลิมปิกไนจีเรีย ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2494

สรุปเหรียญรางวัล

[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน

[แก้]
ปีการแข่งขัน นักกีฬา ทอง เงิน ทองแดง รวม อันดับ
ประเทศฟินแลนด์ 1952 เฮลซิงกิ 9 0 0 0 0
ประเทศออสเตรเลีย 1956 เมลเบิร์น 10 0 0 0 0
ประเทศอิตาลี 1960 โรม 12 0 0 0 0
ประเทศญี่ปุ่น 1964 โตเกียว 18 0 0 1 1 35
ประเทศเม็กซิโก 1968 เม็กซิโกซิตี 36 0 0 0 0
ประเทศเยอรมนีตะวันตก 1972 มิวนิก 25 0 0 1 1 43
ประเทศแคนาดา 1976 มอนทรีออล ไม่ได้เข้าร่วม
สหภาพโซเวียต 1980 มอสโก 44 0 0 0 0
สหรัฐอเมริกา 1984 ลอสแอนเจลิส 32 0 1 1 2 30
ประเทศเกาหลีใต้ 1988 โซล 69 0 0 0 0
ประเทศสเปน 1992 บาร์เซโลนา 55 0 3 1 4 38
สหรัฐอเมริกา 1996 แอตแลนตา 65 2 1 3 6 32
ประเทศออสเตรเลีย 2000 ซิดนีย์ 83 1 2 0 3 41
ประเทศกรีซ 2004 เอเธนส์ 70 0 0 2 2 68
ประเทศจีน 2008 ปักกิ่ง 74 0 3 2 5 57
สหราชอาณาจักร 2012 ลอนดอน 49 0 0 0 0
ประเทศบราซิล 2016 รีโอเดจาเนโร 71 0 0 1 1 78
ประเทศญี่ปุ่น 2020 โตเกียว 55 0 1 1 2 74
ประเทศฝรั่งเศส 2024 ปารีส อนาคต
สหรัฐอเมริกา 2028 ลอสแอนเจลิส
ประเทศออสเตรเลีย 2032 บริสเบน
รวม 3 11 13 27 74

อ้างอิง

[แก้]
  1. Press. "IBSF athletes from 30 nations compete at PyeongChang Olympic Winter Games". www.ibsf.org (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-08-15. สืบค้นเมื่อ 2018-01-22. {{cite web}}: ระบุ |accessdate= และ |access-date= มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ |archivedate= และ |archive-date= มากกว่าหนึ่งรายการ (help); ระบุ |archiveurl= และ |archive-url= มากกว่าหนึ่งรายการ (help)
  2. I.O.C. Strips Gold From 2000 U.S. Relay Team
  3. Olympics: Nigeria awarded 4x 400m relay gold
  4. London may spring surprise in taekwondo, says Ashiru

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]