ข้ามไปเนื้อหา

ประเทศอิหร่านในโอลิมปิก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประเทศอิหร่าน
ในโอลิมปิก
รหัสไอโอซีIRI
เอ็นโอซีคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน
เว็บไซต์www.olympic.ir (ในภาษาเปอร์เซียและอังกฤษ)
เหรียญ
อันดับ 39
ทอง
27
เงิน
29
ทองแดง
32
รวม
88
การเข้าร่วมในกีฬาฤดูร้อน
การเข้าร่วมในกีฬาฤดูหนาว

ประเทศอิหร่าน ชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1979 เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกในปี ค.ศ. 1900 อิหร่านได้ส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนทุกครั้งตั้งแต่ปี ค.ศ. 1948 ยกเว้นในปี ค.ศ. 1980 และ 1984 เนื่องจากการคว่ำบาตรทางการเมือง อิหร่านยังได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวหลายครั้งตั้งแต่ปี ค.ศ. 1956

อิหร่านได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก 18 ครั้งแล้ว อิหร่านเข้าร่วมโอลิมปิกฤดูร้อน 9 ครั้งและได้รับ 4 เหรียญทองก่อนการปฏิวัติในปี ค.ศ. 1979 อิหร่านยังเข้าร่วมโอลิมปิกฤดูร้อน 9 ครั้งและได้รับเหรียญทอง 20 เหรียญหลังการปฏิวัติ

เฟรย์ดูน มัลคอม นักฟันดาบที่เข้าร่วมการแข่งขันเอเป้ในโอลิมปิกฤดูร้อนปี ค.ศ. 1900 เป็นผู้แข่งขันกีฬาโอลิมปิกชาวอิหร่านคนแรก นักกีฬาชาวอิหร่านได้รับรางวัลทั้งหมด 76 เหรียญ ทั้งหมดคือกีฬามวยปล้ำ ยกน้ำหนัก เทควันโด กรีฑา ยิงปืน และคาราเต้ คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติของอิหร่านก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1947

สรุปเหรียญรางวัล

[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน

[แก้]
ปีการแข่งขัน นักกีฬา ทอง เงิน ทองแดง รวม อันดับ
ประเทศกรีซ 1896 เอเธนส์ ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
ประเทศฝรั่งเศส 1900 ปารีส 1 0 0 0 0
สหรัฐอเมริกา 1904 เซนต์หลุยส์ ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
สหราชอาณาจักร 1908 ลอนดอน
ประเทศสวีเดน 1912 สต็อกโฮล์ม
ประเทศเบลเยียม 1920 แอนต์เวิร์ป
ประเทศฝรั่งเศส 1924 ปารีส
ประเทศเนเธอร์แลนด์ 1928 อัมสเตอร์ดัม
สหรัฐอเมริกา 1932 ลอสแอนเจลิส
ประเทศเยอรมนี 1936 เบอร์ลิน
สหราชอาณาจักร 1948 ลอนดอน 36 0 0 1 1 34
ประเทศฟินแลนด์ 1952 เฮลซิงกิ 22 0 3 4 7 30
ประเทศออสเตรเลีย 1956 เมลเบิร์น 17 2 2 1 5 14
ประเทศอิตาลี 1960 โรม 25 0 1 3 4 27
ประเทศญี่ปุ่น 1964 โตเกียว 63 0 0 2 2 34
ประเทศเม็กซิโก 1968 เม็กซิโกซิตี 14 2 1 2 5 19
ประเทศเยอรมนีตะวันตก 1972 มิวนิก 50 0 2 1 3 28
ประเทศแคนาดา 1976 มอนทรีออล 86 0 1 1 2 33
สหภาพโซเวียต 1980 มอสโก ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
สหรัฐอเมริกา 1984 ลอสแอนเจลิส
ประเทศเกาหลีใต้ 1988 โซล 27 0 1 0 1 36
ประเทศสเปน 1992 บาร์เซโลนา 40 0 1 2 3 44
สหรัฐอเมริกา 1996 แอตแลนตา 18 1 1 1 3 43
ประเทศออสเตรเลีย 2000 ซิดนีย์ 35 3 0 1 4 27
ประเทศกรีซ 2004 เอเธนส์ 38 2 2 2 6 29
ประเทศจีน 2008 ปักกิ่ง 55 1 0 1 2 52
สหราชอาณาจักร 2012 ลอนดอน 53 7 5 1 13 12
ประเทศบราซิล 2016 รีโอเดจาเนโร 63 3 1 4 8 24
ประเทศญี่ปุ่น 2020 โตเกียว 65 3 2 2 7 27
ประเทศฝรั่งเศส 2024 ปารีส 41 3 6 3 12 21
สหรัฐอเมริกา 2028 ลอสแอนเจลิส เหตุการณ์ในอนาคต

ประเทศออสเตรเลีย 2032 บริสเบน
รวม 27 29 32 88 39

โอลิมปิกฤดูหนาว

[แก้]
ปีการแข่งขัน นักกีฬา ทอง เงิน ทองแดง รวม อันดับ
ประเทศอิตาลี 1956 กอร์ตีนาดัมเปซโซ 3 0 0 0 0
สหรัฐอเมริกา 1960 สควอว์วัลเลย์ ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
ประเทศออสเตรีย 1964 อินส์บรุค 4 0 0 0 0
ประเทศฝรั่งเศส 1968 เกรอนอบล์ 4 0 0 0 0
ประเทศญี่ปุ่น 1972 ซัปโปโระ 4 0 0 0 0
ประเทศออสเตรีย 1976 อินส์บรุค 4 0 0 0 0
สหรัฐอเมริกา 1980 เลกแพลซิด ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย 1984 ซาราเยโว
ประเทศแคนาดา 1988 แคลกะรี
ประเทศฝรั่งเศส 1992 อัลแบร์วิล
ประเทศนอร์เวย์ 1994 ลิลเลฮัมเมร์
ประเทศญี่ปุ่น 1998 นางาโนะ 1 0 0 0 0
สหรัฐอเมริกา 2002 ซอลต์เลกซิตี 2 0 0 0 0
ประเทศอิตาลี 2006 ตูริน 2 0 0 0 0
ประเทศแคนาดา 2010 แวนคูเวอร์ 4 0 0 0 0
ประเทศรัสเซีย 2014 โซชี 5 0 0 0 0
ประเทศเกาหลีใต้ 2018 พย็องชัง 4 0 0 0 0
ประเทศจีน 2022 ปักกิ่ง 3 0 0 0 0
ประเทศอิตาลี 2026 มิลาน/กอร์ตีนา เหตุการณ์ในอนาคต
ประเทศฝรั่งเศส 2030 เฟรนช์แอลป์
สหรัฐอเมริกา 2034 ซอลต์เลกซิตี
รวม 0 0 0 0

อ้างอิง

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]