ประเทศเยอรมนีในโอลิมปิก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประเทศเยอรมนี
ในโอลิมปิก
รหัสประเทศGER
เอ็นโอซีGerman Olympic Sports Confederation
เว็บไซต์www.dosb.de (ในภาษาเยอรมัน อังกฤษ และฝรั่งเศส)
เหรียญ
อันดับ 3
ทอง
305
เงิน
305
ทองแดง
312
รวม
922
การเข้าร่วมในกีฬาฤดูร้อน
การเข้าร่วมในกีฬาฤดูหนาว
การเข้าร่วมในนามของชาติอื่น
โอลิมปิกซ้อน 1906

––––

ซาร์ (1952)
เยอรมนี (1956–1964)
เยอรมนีตะวันออก (1968–1988)
เยอรมนีตะวันตก (1968–1988)

ประเทศเยอรมนี เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกส่วนใหญ่ตั้งแต่สมัยใหม่ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1986 เยอรมนีเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก 3 ครั้งในปี 1936 ทั้งกีฬาฤดูหนาวและฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูร้อน 1972 นอกจากนี้ เยอรมนียังได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูร้อน 1916 และโอลิมปิกฤดูหนาว 1940 ซึ่งทั้งคู่ต้องถูกยกเลิกเนื่องจากสงครามโลก หลังสงครามเหล่านี้ ชาวเยอรมันถูกห้ามไม่ให้เข้าร่วมในปี ค.ศ. 1920, 1924 และ 1948 ในขณะที่ประเทศถูกแบ่งแยก รัฐในสองรัฐของเยอรมันแต่ละรัฐคว่ำบาตรการแข่งขันกีฬาฤดูร้อนหนึ่งครั้ง: ในปี 1980 เยอรมนีตะวันตกเป็นหนึ่งใน 66 ประเทศที่ไม่ได้ไปมอสโก เพื่อประท้วงการรุกรานอัฟกานิสถานของสหภาพโซเวียต และในปี 1984 เยอรมนีตะวันออกได้เข้าร่วมกับสหภาพโซเวียต (และอีกหลายประเทศ) ในการคว่ำบาตรการแข่งขันกีฬาฤดูร้อนในลอสแองเจลิส

ปัจจุบันไอโอซีแบ่งผลการแข่งขันของเยอรมันออกเป็น 4 รหัส แม้ว่าจะมีเพียงสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน (GDR) ตั้งแต่ปี 1968 ถึง 1988 เท่านั้นที่ส่งทีมแยกออกไปแข่งขันกับทีมคณะกรรมการโอลิมปิกเยอรมันซึ่งเป็นตัวแทนของเยอรมนี (GER) ตั้งแต่ปี 1986

สรุปเหรียญรางวัล[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]

ปีการแข่งขัน นักกีฬา ทอง เงิน ทองแดง รวม อันดับ
กรีซ เอเธนส์ 1896 19 6 5 2 13 3
ฝรั่งเศส ปารีส 1900 78 4 3 2 9 7
สหรัฐ เซนต์หลุยส์ 1904 18 4 5 6 15 2
สหราชอาณาจักร ลอนดอน 1908 81 3 5 5 13 5
สวีเดน สต็อกโฮล์ม 1912 185 5 13 7 25 6
เบลเยียม แอนต์เวิร์ป 1920 ไม่ได้เข้าร่วม
ฝรั่งเศส ปารีส 1924
เนเธอร์แลนด์ อัมสเตอร์ดัม 1928 296 10 7 14 31 2
สหรัฐ ลอสแอนเจลิส 1932 143 3 12 5 20 9
เยอรมนี เบอร์ลิน 1936 433 33 26 30 89 1
สหราชอาณาจักร ลอนดอน 1948 ไม่ได้เข้าร่วม
ฟินแลนด์ เฮลซิงกิ 1952 205 0 7 17 24 28
1956–1964 ส่วนหนึ่งของ ทีมรวมเยอรมนี เยอรมนี (EUA)
1968–1988 ในนาม สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เยอรมนีตะวันตก (FRG) และ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี เยอรมนีตะวันออก (GDR)
สเปน บาร์เซโลนา 1992 463 33 21 28 82 3
สหรัฐ แอตแลนตา 1996 465 20 18 27 65 3
ออสเตรเลีย ซิดนีย์ 2000 422 13 17 26 56 5
กรีซ เอเธนส์ 2004 441 13 16 20 49 6
จีน ปักกิ่ง 2008 463 16 11 14 41 5
สหราชอาณาจักร ลอนดอน 2012 392 11 20 13 44 6
บราซิล รีโอเดจาเนโร 2016 425 17 10 15 42 5
ญี่ปุ่น โตเกียว 2020 425 10 11 16 37 9
ฝรั่งเศส ปารีส 2024 อนาคต
สหรัฐ ลอสแอนเจลิส 2028
ออสเตรเลีย บริสเบน 2032
รวม 201 207 247 655 7

อ้างอิง[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]