ข้ามไปเนื้อหา

ประเทศจีนในโอลิมปิก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประเทศจีน
ในโอลิมปิกตลอดกาล
รหัสไอโอซีCHN
เอ็นโอซีคณะกรรมการโอลิมปิกจีน
เว็บไซต์www.olympic.cn (ในภาษาจีน)
เหรียญ
อันดับ 3
ทอง
325
เงิน
258
ทองแดง
221
รวม
804
การเข้าร่วมในกีฬาฤดูร้อน
การเข้าร่วมในกีฬาฤดูหนาว
การเข้าร่วมในนามของชาติอื่น
 ไต้หวัน (1924–1972)

ประเทศจีน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1924 เป็นครั้งแรกในนามของสาธารณรัฐจีน (ROC) จนถึงโอลิมปิกฤดูหนาว 1976 จากนั้นจึงเปลี่ยนมาใช้ชื่อสาธารณรัฐประชาชนจีน (PRC) ครั้งแรกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1952

เจ้าภาพ

[แก้]

สาธารณรัฐประชาชนจีนเคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งโอลิมปิกเพียงครั้งเดียวที่กรุงปักกิ่ง และจะเป็นเจ้าภาพอีกครั้งในโอลิมปิกฤดูหนาว 2022 ซึ่งจะทำให้ปักกิ่งเป็นเมืองแรกในโลกที่เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันทั้งโอลิมปิดฤดูร้อนและฤดูหนาวในเมืองเดียวกัน

การแข่งขัน เมืองเจ้าภาพ วันที่ ประเทศ นักกีฬา รายการ
โอลิมปิกฤดูร้อน 2008 ปักกิ่ง 8 – 24 สิงหาคม 204 10,942 302
โอลิมปิกฤดูหนาว 2022 ปักกิ่ง 4 – 20 กุมภาพันธ์ 91 2,871 109

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพที่ไม่ได้รับคัดเลือก

[แก้]
การแข่งขัน เมือง ผู้ชนะการเสนอชื่อ
โอลิมปิกฤดูร้อน 2000 ปักกิ่ง ซิดนีย์, ออสเตรเลีย
โอลิมปิกฤดูหนาว 2010 ฮาร์บิน แวนคูเวอร์, แคนาดา


ภาพรวมการเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิก

[แก้]

ลำดับการเข้าร่วมแข่งขัน

[แก้]
ปี ประเทศ
จีนแผ่นดินใหญ่ ไต้หวัน
1924 (Chine)[1][2] เป็นส่วนหนึ่งของ ญี่ปุ่น[a]
1932–1936 จีน (CHN)
1948
1952 สาธารณรัฐประชาชนจีน (PRC)
1956 สาธารณรัฐจีน (CHN)
1960 ฟอร์โมซา (RCF)
1964–1968 ไต้หวัน (TWN)
1972–1976 สาธารณรัฐจีน (ROC)
1980 จีน (CHN)
1984–ปัจจุบัน จีนไทเป

(TPE)

ประเทศจีนในโอลิมปิกฤดูร้อน

[แก้]

       ประเทศเจ้าภาพ

ปีการแข่งขัน นักกีฬา ทอง เงิน ทองแดง รวม อันดับ
1924–1948 เป็นส่วนหนึ่งของ  ไต้หวัน (ROC)
ประเทศฟินแลนด์ 1952 เฮลซิงกิ 1 0 0 0 0
1956–1980 ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
สหรัฐอเมริกา 1984 ลอสแอนเจลิส 216 15 8 9 32 4
ประเทศเกาหลีใต้ 1988 โซล 273 5 11 12 28 11
ประเทศสเปน 1992 บาร์เซโลนา 244 16 22 16 54 4
สหรัฐอเมริกา 1996 แอตแลนตา 294 16 22 12 50 4
ประเทศออสเตรเลีย 2000 ซิดนีย์ 271 28 16 14 58 3
ประเทศกรีซ 2004 เอเธนส์ 384 32 17 14 63 2
ประเทศจีน 2008 ปักกิ่ง 639 48 22 30 100 1
สหราชอาณาจักร 2012 ลอนดอน 396 39 31 22 92 2
ประเทศบราซิล 2016 รีโอเดจาเนโร 412 26 18 26 70 3
ประเทศญี่ปุ่น 2020 โตเกียว 406 38 32 19 89 2
ประเทศฝรั่งเศส 2024 ปารีส 388 40 27 24 91 2
สหรัฐอเมริกา 2028 ลอสแอนเจลิส เหตุการณ์ในอนาคต
ประเทศออสเตรเลีย 2032 บริสเบน
รวม 303 226 198 727 3

ประเทศจีนในโอลิมปิกฤดูหนาว

[แก้]

      ประเทศเจ้าภาพ

ปีการแข่งขัน นักกีฬา ทอง เงิน ทองแดง รวม อันดับ
สหรัฐอเมริกา 1980 เลกแพลซิด 24 0 0 0 0
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย 1984 ซาราเยโว 37 0 0 0 0
ประเทศแคนาดา 1988 แคลกะรี 13 0 0 0 0
ประเทศฝรั่งเศส 1992 อัลแบร์วิล 32 0 3 0 3 15
ประเทศนอร์เวย์ 1994 ลิลเลฮัมเมร์ 24 0 1 2 3 19
ประเทศญี่ปุ่น 1998 นางาโนะ 57 0 6 2 8 16
สหรัฐอเมริกา 2002 ซอลต์เลกซิตี 66 2 2 4 8 13
ประเทศอิตาลี 2006 ตูริน 76 2 4 5 11 14
ประเทศแคนาดา 2010 แวนคูเวอร์ 94 5 2 4 11 7
ประเทศรัสเซีย 2014 โซชี 66 3 4 2 9 12
ประเทศเกาหลีใต้ 2018 พย็องชัง 81 1 6 2 9 16
ประเทศจีน 2022 ปักกิ่ง 176 9 4 2 15 4
ประเทศอิตาลี 2026 มิลาน/กอร์ตีนา เหตุการณ์ในอนาคต
ประเทศฝรั่งเศส 2030 เฟรนช์แอลป์
สหรัฐอเมริกา 2034 ซอลต์เลกซิตี
รวม 22 32 23 77 16

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ยกเว้นหมู่เกาะจินเหมินและหมู่เกาะหมาจู่ ซึ่งถูกควบคุมโดยจีนตลอดการแข่งขันโอลิมปิก ไต้หวันถูกจีนยึดคืนในปี ค.ศ. 1945 หลังจากที่จีนได้รับชัยชนะเหนือญี่ปุ่น

อ้างอิง

[แก้]
  1. ประเทศจีนเข้าร่วมพิธีเปิด แต่บรรดานักกีฬาทั้ง 4 คน (ล้วนเป็นนักเทนนิส) ถอนตัวออกจากการแข่งขัน
  2. M. Avé (บ.ก.). Les Jeux de la VIIIe Olympiade Paris 1924 – Rapport Officiel (PDF) (ภาษาฝรั่งเศส). Paris: Librairie de France. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 5 May 2011. สืบค้นเมื่อ 16 October 2012. 39 seulement s'alignérent, ne représentant plus que 24 nations, la Chine, le Portugal et la Yougoslavie ayant déclaré forfait.