ข้ามไปเนื้อหา

ประเทศบังกลาเทศในโอลิมปิก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ประเทศบังกลาเทศ เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกทุกครั้งตั้งแต่ปี ค.ศ. 1984 โดยบังคลาเทศแข่งขันเป็นส่วนหนึ่งของอินเดียก่อนปี ค.ศ. 1947 และปากีสถานก่อนปี ค.ศ. 1972 ประเทศบังกลาเทศไม่เคยได้รับเหรียญรางวัลในโอลิมปิกฤดูร้อนและไม่เคยแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว

ในปี ค.ศ. 2016 สิทดิเกอร์ เราะห์มาน กลายเป็นชาวบังคลาเทศคนแรกที่ผ่านเข้ารอบการแข่งขันกอล์ฟโอลิมปิก[1] และบังกลาเทศส่งนักกีฬา 7 คนไปแข่งขันมากกว่าปีอื่น ๆ ประเทศบังกลาเทศได้ส่งตัวแทนอื่น ๆ ไปแข่งขันด้วยกระบวนการไวด์การ์ด[2] บังกลาเทศมีประชากรประมาณ 170 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลกที่ไม่เคยได้รับเหรียญโอลิมปิก[3]

วาลี อุลละห์ หัวหน้าสมาคมกีฬาโอลิมปิกแห่งบังคลาเทศกล่าวว่าเศรษฐกิจที่อ่อนแอของบังคลาเทศมีสาเหตุมาจากผลงานด้านกีฬาที่ย่ำแย่

สรุปเหรียญรางวัล

[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน

[แก้]
ปีการแข่งขัน นักกีฬา ทอง เงิน ทองแดง รวม อันดับ
1900–1936 ส่วนหนึ่งของ  อินเดีย
1948–1968 ส่วนหนึ่งของ  ปากีสถาน (PAK)
เยอรมนีตะวันตก มิวนิก 1972 ไม่ได้เข้าร่วม
แคนาดา มอนทรีอัล 1976
สหภาพโซเวียต มอสโก 1980
สหรัฐ ลอสแอนเจลิส 1984 1 0 0 0 0
เกาหลีใต้ โซล 1988 6 0 0 0 0
สเปน บาร์เซโลนา 1992 6 0 0 0 0
สหรัฐ แอตแลนตา 1996 4 0 0 0 0
ออสเตรเลีย ซิดนีย์ 2000 5 0 0 0 0
กรีซ เอเธนส์ 2004 4 0 0 0 0
จีน ปักกิ่ง 2008 5 0 0 0 0
สหราชอาณาจักร ลอนดอน 2012 5 0 0 0 0
บราซิล รีโอเดจาเนโร 2016 7 0 0 0 0
ญี่ปุ่น โตเกียว 2020 6 0 0 0 0
ฝรั่งเศส ปารีส 2024 อนาคต
สหรัฐ ลอสแอนเจลิส 2028
ออสเตรเลีย บริสเบน 2032
รวม 0 0 0 0

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Golfer Siddikur Rahman becomes first Bangladesh player to qualify for Olympics". 13 July 2016. สืบค้นเมื่อ 10 August 2017.
  2. "Bangladesh's Preparation for Beijing Olympics in Full Swing" เก็บถาวร 2019-11-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Xinhua. June 15, 2008.
  3. "The 10 Most Populous Countries To Never Win An Olympic Medal". BuzzFeed Community. สืบค้นเมื่อ 22 February 2016.

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]