ประเทศแคเมอรูนในโอลิมปิก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประเทศแคเมอรูน
ในโอลิมปิก
รหัสประเทศCMR
เอ็นโอซีคณะกรรมการโอลิมปิกและกีฬาแคเมอรูน
เว็บไซต์www.cnosc.org (ในภาษาฝรั่งเศส)
เหรียญ
อันดับ 83
ทอง
3
เงิน
1
ทองแดง
2
รวม
6
การเข้าร่วมในกีฬาฤดูร้อน
การเข้าร่วมในกีฬาฤดูหนาว

ประเทศแคเมอรูน เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกใน พ.ศ. 2507 และส่งนักกีฬาไปแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนทุกรายการตั้งแต่นั้นมา แคเมอรูนถอนตัวจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 หลังจากสามวันของการแข่งขัน เพื่อเข้าร่วมการคว่ำบาตรแอฟริกันเพื่อตอบสนองต่อการมีส่วนร่วมของนิวซีแลนด์ ซึ่งยังคงมีการเชื่อมโยงกีฬากับแอฟริกาใต้ที่แบ่งแยกสีผิว แคเมอรูนได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว 1 ครั้งใน พ.ศ. 2545 โดยมีตัวแทนเพียงคนเดียวคือ ไอแซก เม็นโยลี

นักกีฬาชาวแคเมอรูนได้รับเหรียญรางวัลทั้งหมด 6 เหรียญ ซึ่งรวมถึงเหรียญทองฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2000

คณะกรรมการโอลิมปิกและกีฬาของแคเมอรูนก่อตั้งขึ้นและเป็นที่ยอมรับโดยไอโฮซีในปี พ.ศ. 2506

สรุปเหรียญรางวัล[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]

ปีการแข่งขัน นักกีฬา ทอง เงิน ทองแดง รวม อันดับ
ญี่ปุ่น โตเกียว 1964 1 0 0 0 0
เม็กซิโก เม็กซิโกซิตี 1968 5 0 1 0 1 39
เยอรมนีตะวันตก มิวนิก 1972 11 0 0 0 0
แคนาดา มอนทรีอัล 1976 8 0 0 0 0
สหภาพโซเวียต มอสโก 1980 25 0 0 0 0
สหรัฐ ลอสแอนเจลิส 1984 48 0 0 1 1 43
เกาหลีใต้ โซล 1988 15 0 0 0 0
สเปน บาร์เซโลนา 1992 8 0 0 0 0
สหรัฐ แอตแลนตา 1996 15 0 0 0 0
ออสเตรเลีย ซิดนีย์ 2000 35 1 0 0 1 50
กรีซ เอเธนส์ 2004 17 1 0 0 1 54
จีน ปักกิ่ง 2008 33 1 0 0 1 52
สหราชอาณาจักร ลอนดอน 2012 33 0 0 1 1 79
บราซิล รีโอเดจาเนโร 2016 24 0 0 0 0
ญี่ปุ่น โตเกียว 2020 12 0 0 0 0
ฝรั่งเศส ปารีส 2024 อนาคต
สหรัฐ ลอสแอนเจลิส 2028
ออสเตรเลีย บริสเบน 2032
รวม 3 1 2 6 83

อ้างอิง[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]