ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท่าอากาศยานชุมพร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 62: บรรทัด 62:
{{สร้างปี|2537}}
{{สร้างปี|2537}}
{{โครงสถานที่}}
{{โครงสถานที่}}


เที่ยวบิน กรุงเทพฯ(ดอนเมือง)-ชุมพร, ชุมพร(เกาะต่างๆ)
http://www.solarair.co.th/

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:46, 1 กุมภาพันธ์ 2559

ท่าอากาศยานชุมพร
  • IATA: CJM
  • ICAO: VTSE
    CJMตั้งอยู่ในประเทศไทย
    CJM
    CJM
    ตำแหน่งของสนามบินในประเทศไทย
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานสนามบินพาณิชย์
พิกัด10°42′40.32″N 099°21′42.14″E / 10.7112000°N 99.3617056°E / 10.7112000; 99.3617056
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
ฟุต เมตร
06/24 6,890 2,100 ลาดยาง
สถิติ (2556)
ผู้โดยสาร45,184
เที่ยวบิน3,039
แหล่งข้อมูล: http://www.aviation.go.th

ท่าอากาศยานชุมพร หรือ สนามบินชุมพร (อังกฤษ: Chumphon Airport) ตั้งอยู่ที่ อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร เป็นท่าอากาศยานในสังกัดกรมการบินพลเรือน กระทรวงคมนาคม[1]

ประวัติ

ท่าอากาศยานชุมพร ก่อสร้างตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 เพื่อกระตุ้นและฟื้นฟูเศรษฐกิจของจังหวัดชุมพร หลังประสบภัยพายุไต้ฝุ่นเกย์ (เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2532) เริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2537 และเปิดทำการบินครั้งแรก เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2541 ใช้งบประมาณ 530 ล้านบาท และได้รับการประกาศเป็นสนามบินศุลกากร เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2543 ตั้งอยู่ในเขตตำบลชุมโค อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร มีพื้นที่รวม 2,485 ไร่ ห่างตัวเมืองชุมพรไปทางทิศเหนือประมาณ 38 ก.ม. มีสายการบินพีบีแอร์ เป็นสายการบินแรก และหยุดทำการบินไปเมื่อปี พ.ศ. 2543

ต่อมาสายการบินแอร์อันดามันได้เปิดทำการบินอีกครั้ง เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2545 แต่ต้องหยุดทำการบิน เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2546 เพราะประสบปัญหาขาดทุนเช่นเดียวกับสายการบินพีบีแอร์

โดยในปัจจุบัน มีสายการบินให้บริการจำนวน 2 สายการบิน ได้แก่ นกแอร์ และ Solar Air ซึ่งมีเที่ยวบินลงที่ท่าอากาศยานชุมพรเลย

รายชื่อสายการบิน

สายการบิน จุดหมายปลายทาง[2] หมายเหตุ
นกแอร์ กรุงเทพฯ-ดอนเมือง ภายในประเทศ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง


เที่ยวบิน กรุงเทพฯ(ดอนเมือง)-ชุมพร, ชุมพร(เกาะต่างๆ) http://www.solarair.co.th/