ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดบุรีรัมย์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดบุรีรัมย์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535

← มีนาคม พ.ศ. 2535 13 กันยายน พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2538 →

9 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน678,410
ผู้ใช้สิทธิ71.50%
  First party Second party Third party
 
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg
เฉลิม อยู่บำรุง.jpg
ผู้นำ ประมาณ อดิเรกสาร ชวน หลีกภัย เฉลิม อยู่บำรุง
พรรค ชาติไทย ประชาธิปัตย์ มวลชน
ที่นั่งก่อนหน้า 3 1 0
ที่นั่งที่ชนะ 5 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party
 
Chatichai Choonhavan.jpg
Narong Wongwan.jpg
ผู้นำ ชาติชาย ชุณหะวัณ ณรงค์ วงศ์วรรณ
พรรค ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) สามัคคีธรรม
ที่นั่งก่อนหน้า 0 5
ที่นั่งที่ชนะ 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง5

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ กันยายน พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 9 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2535 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอลำปลายมาศ, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก, อำเภอคูเมือง, อำเภอหนองหงส์, อำเภอนาโพธิ์ และกิ่งอำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พรเทพ เตชะไพบูลย์ (13)* 68,928
ชาติไทย ชัย ชิดชอบ (17)✔ 67,864
มวลชน ปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์ (7)* 58,695
ประชาธิปัตย์ บังอร นพสุวรรณวงศ์ (14) 56,194
ชาติไทย วุฒิพงษ์ เหลืองอุดมชัย (16)* 42,796
ความหวังใหม่ กมล ใสงาม (4) 40,060
พลังธรรม คำพันธุ์ สุขไธสง (1) 15,022
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) วัฒนา คู่กระสังข์ (11) 11,962
พลังธรรม สมิง ปักเขมายา (2) 11,160
พลังธรรม วิชัตถ์ ตองติดรัมย์ (3) 9,197
ประชาธิปัตย์ ประเสริฐศักดิ์ ชัยชุมพล (15) 5,022
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) เพ็ญพร สิไธสง (12) 3,141
ความหวังใหม่ สมาน ยินดีรัมย์ (6) 2,889
เสรีธรรม (พ.ศ. 2535) ทราย จันทร์สม (10) 2,333
มวลชน บุญจันทร์ ประเสริฐสวัสดิ์ (9) 1,813
ชาติไทย ชาลินี ลิอ่อนรัมย์ (18) 1,702
มวลชน สุขสันต์ กิรติพงศ์พิศาล (8) 1,647
ความหวังใหม่ บรรเทิง อิดประโคน (5) 1,255
เอกภาพ มณเฑียร คดีเวียง (19) 1,113
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อรุณ วิทยาประโคน (27) 987
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เทียน แจ่มรัมย์ (26) 624
พลังประชาชน (พ.ศ. 2535) มงคล ศรีเชื้อ (24) 560
เอกภาพ ไพศาล พลวัน (20) 524
พลังประชาชน (พ.ศ. 2535) ฟื้น ศรีเชื้อ (23) 453
เอกภาพ บุรี กระมล (21) 344
ราษฎร (พ.ศ. 2529) แจ่ม คงรัมย์ (25) 256
พลังประชาชน (พ.ศ. 2535) เล็กชาย หลอดทอง (22) 245
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
มวลชน ได้ที่นั่งจาก สามัคคีธรรม

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอนางรอง, อำเภอบ้านกรวด, อำเภอละหานทราย, อำเภอปะคำ, อำเภอหนองกี่, กิ่งอำเภอโนนสุวรรณ และกิ่งอำเภอชำนิ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ มนัส เฮงยศมาก (4) 77,211
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) โสภณ เพชรสว่าง (3)✔ 66,661
ชาติไทย ประกิจ พลเดช (9)* 63,720
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) พันตำรวจเอก สุทธี คะสุวรรณ (2)* 53,856
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ต่อสู้ ลัทธิกุล (1)* 48,502
ความหวังใหม่ วัชรินทร์ ฉันทะกุล (16) 29,381
ประชาธิปัตย์ ปรีชา มากนาคา (6) 5,123
ประชาธิปัตย์ วศิน มโหฬารนรเศรษฐ์ (5) 5,031
พลังประชาชน (พ.ศ. 2535) วุฒินันท์ หลอดทอง (22)✔ 3,391
ชาติไทย สุทธินัน จรเอ้กา (8) 2,933
มวลชน คฑาวุธ อุดมชมชัย (13) 2,181
ความหวังใหม่ วุฒิไกร ไกรหมื่นไวย์ (17) 1,707
ชาติไทย เล็งเลิศ อำมะเหียะ (7) 1,678
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อารี สุริยะภา (27) 1,291
ความหวังใหม่ รัตน์พล พลรัตน์ (18) 1,006
เอกภาพ มานพ อาญาเมือง (10) 988
มวลชน กฤษฎา ชูดาลัด (14) 888
เอกภาพ ฉลวย จักษุทิพย์ (12) 854
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ชุมพล ทรงประโคน (25) 819
มวลชน บุญธรรม กองรัมย์ (15) 815
เอกภาพ สุวรรณ ตรากลาง (11) 765
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อรวรรณ ศิริพยัคฆ์ (26) 657
พลังประชาชน (พ.ศ. 2535) มรกต ครุฑกุล (24) 628
ประชากรไทย นิคม ดวงมาลา (19) 609
ประชากรไทย นพรัตน์ สุขสำราญ (20) 466
พลังประชาชน (พ.ศ. 2535) เชื่อม คลังวิศาล (23) 405
ประชากรไทย กรีฑา ประภานิล (21) 402
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ได้ที่นั่งจาก สามัคคีธรรม
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอประโคนชัย, อำเภอกระสัง, กิ่งอำเภอห้วยราช และกิ่งอำเภอพลับพลาชัย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ (10)* 78,081
ชาติไทย เนวิน ชิดชอบ (12)* 74,780
ชาติไทย ทรงศักดิ์ ทองศรี (11)* 74,598
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) พิชิต ธีระรัชตานนท์ (4)✔ 74,381
ประชาธิปัตย์ การุณ ใสงาม (1)✔ 55,841
ประชาธิปัตย์ พิลึก แสงใส (2) 20,356
ประชาธิปัตย์ บุญธรรม มีชัย (3) 17,330
มวลชน สำเริง อักษรณรงค์ (13) 3,315
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) นพรัตน์ ณรงค์ชัย (5) 2,516
ประชากรไทย ถวิล พะนิจรัมย์ (7) 2,419
ประชากรไทย อนันต์ พิสาดรัมย์ (8) 2,095
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) วิชิต เข็มรัมย์ (6) 1,750
มวลชน เบญจวรรณ บูรณพันศักดิ์ (14) 1,434
ประชากรไทย เสน่ห์ บุญโก่ง (9) 1,397
เอกภาพ ศรีนคร ปุ่นประโคน (16) 1,197
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ทองดี เพชรตะกั่ว (24) 831
ราษฎร (พ.ศ. 2529) เทียน ผินโพธิ์ (22) 549
เอกภาพ ประสพ กระมล (17) 540
มวลชน สมชาติ เล้าสกุล (15) 539
พลังประชาชน (พ.ศ. 2535) สุธรรม เภสัชชะ (21) 521
เอกภาพ บัญญัติ เงางาม (18) 520
ราษฎร (พ.ศ. 2529) โปร่ง เพชรตะกั่ว (23) 511
พลังประชาชน (พ.ศ. 2535) ฟัก ศรีเชื้อ (20) 447
พลังประชาชน (พ.ศ. 2535) ขาว กุรัมย์ (19) 270
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก สามัคคีธรรม
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก สามัคคีธรรม
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก สามัคคีธรรม

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2535. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2536