ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดบุรีรัมย์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดบุรีรัมย์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

← พ.ศ. 2529 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 มีนาคม พ.ศ. 2535 →

9 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน573,356
ผู้ใช้สิทธิ75.11%
  First party Second party Third party
 
Chatichai Choonhavan.jpg
เฉลิม อยู่บำรุง.jpg
พล เริงประเสริฐวิทย์.jpg
ผู้นำ ชาติชาย ชุณหะวัณ เฉลิม อยู่บำรุง พล เริงประเสริฐวิทย์
พรรค ชาติไทย มวลชน สหประชาธิปไตย
ที่นั่งก่อนหน้า 2 2 3
ที่นั่งที่ชนะ 4 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 Steady0 ลดลง2

  Fourth party Fifth party
 
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
ณรงค์กิตติขจร.jpg
ผู้นำ พิชัย รัตตกุล ณรงค์ กิตติขจร
พรรค ประชาธิปัตย์ เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525)
ที่นั่งก่อนหน้า 2 0
ที่นั่งที่ชนะ 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 เพิ่มขึ้น1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชาติชาย ชุณหะวัณ
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ. 2531 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 9 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2529 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอลำปลายมาศ, อำเภอพุทไธสง, อำเภอสตึก, อำเภอคูเมือง, อำเภอหนองหงส์ และอำเภอนาโพธิ์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พรเทพ เตชะไพบูลย์ (4)* 104,656
มวลชน ปณวัตร เลี้ยงผ่องพันธุ์ (30)* 46,410
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) วุฒิพงษ์ เหลืองอุดมชัย (1) 45,856
สหประชาธิปไตย ชัย ชิดชอบ (9)* 38,565
ชาติไทย จุล วงศ์สวาสดิ์ (25) 30,835
ชาติไทย วัฒนา คู่กระสังข์ (26) 21,228
ประชาชน (พ.ศ. 2531) พิทักษ์ บัณฑิตพานิชชา (22) 18,116
มวลชน ประกอบ ภิญโญ (28) 10,457
ประชาชน (พ.ศ. 2531) พิลึก แสงใส (23) 6,172
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ประเสริฐ เลิศยะโส (24)✔ 5,540
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ว่าที่ร้อยตรี มนัส หมัดสะอาด (15) 5,163
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) กฤตพงศ์ เศรษฐดาวิทย์ (31) 5,103
กิจสังคม ณรงค์ ปั้นงาม (16) 3,383
พลังธรรม คำเดือง ภาษี (20) 3,289
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ลาวัลย์ แย้มศรี (2) 3,149
พลังธรรม เพ็ญแข ศรีจันทร์ (19) 3,033
มวลชน สราวุฒิ เลี้ยงผ่องพันธุ์ (29) 2,400
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) จุรีรัตน์ เฉลิมราษฎร์ (3) 2,208
ประชาธิปัตย์ สมชาติ สารธรรม (6) 2,040
กิจสังคม อำนาจ บุญปลูก (18) 1,965
พลังธรรม เสาร์ บุญที (21) 1,885
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) มณเฑียร คดีเวียง (13) 1,884
ประชาธิปัตย์ ปารุส มีมาก (5) 1,813
ประชากรไทย จิตร ลิ้มอำไพอาภรณ์ (12) 1,561
รวมไทย (พ.ศ. 2529) คำพันธ์ สุขไธสง (36) 1,445
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สมศักดิ์ เจริญรัมย์ (14) 1,435
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) จักรี แจ่มสิริจริยาวัตร (32) 1,384
สหประชาธิปไตย สมนึก กมล (8) 1,356
รวมไทย (พ.ศ. 2529) เดช จันทะวงศรี (35) 1,230
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) เสมอ ชีไธสง (33) 1,138
ประชากรไทย ประสิทธิ์ แจ้งไพร (10) 1,025
สหประชาธิปไตย ธีรชาติ แก้วทาสี (7) 964
กิจสังคม ล้วน โมงไธสง (17) 961
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ภู่เพ็ชร น้อมเสงี่ยม (34) 906
ชาติไทย วาสน์ โชติขันธ์ (27) 623
ประชากรไทย วัชรชัย วงศ์หอม (11) 475
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
มวลชน รักษาที่นั่ง
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ได้ที่นั่งจาก สหประชาธิปไตย

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอนางรอง, อำเภอบ้านกรวด, อำเภอละหานทราย, อำเภอปะคำ และอำเภอหนองกี่

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
มวลชน โสภณ เพชรสว่าง (13)✔ 73,082
ชาติไทย ประกิจ พลเดช (3) 63,964
ชาติไทย ต่อสู้ ลัทธิกุล (2)* 60,904
ชาติไทย ไพโรจน์ ติยะวานิช (1)* 40,170
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ณัษฐพล ทิพย์อักษร (19) 12,863
พลังธรรม พัชนีย์ สุขจิตต์ (8) 11,013
ราษฎร (พ.ศ. 2529) วุฒินันท์ หลอดทอง (16)✔ 10,588
พลังธรรม ประเสริม เสาวโร (7) 9,052
พลังธรรม วิโรจน์ สายยศ (9) 6,288
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ลำดวล มะมา (12) 4,144
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สอิ้ง วุฒิเกรียงไกร (20) 3,881
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ทราย จันทร์สม (4) 2,768
มวลชน จำลอง ป้องสีดา (14) 2,171
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สิทธิชัย เพชรเดิมพันธุ์ (21) 2,092
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ร้อยตำรวจตรี อุดม ปานใจนาม (18) 2,098
ราษฎร (พ.ศ. 2529) สุเทพ ปานใจนาม (17) 1,499
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) เกษรา บุณยานุเคราะห์ (5) 1,392
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ร้อยตำรวตรี ผล ฤทธิวัชร (6) 1,335
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) มนูญ โจมพรม (10) 1,302
ประชากรไทย วัฒนชัย ฉิมกลางดอน (23) 1,232
มวลชน สาคร นิลนามะ (15) 1,163
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ธันวา โจมพรม (11) 858
ประชากรไทย นิคม ดวงมาลา (24) 751
ประชากรไทย ศรีนวน สุมาลุ (22) 731
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ประพจน์ อาทิตย์ตั้ง (33) 643
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ชัยวัฒน์ เข็มทอง (31) 588
ประชาชน (พ.ศ. 2531) สุวิชัย อ่วมอิ่ม (32) 515
พลังสังคมประชาธิปไตย ประเสริฐ พงษ์สวัสดิ์ (35) 358
เกษตรอุตสาหกรรมไทย หวัน พิศนอก (39) 286
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ณรงค์ ประคองจิตต์ (30) 225
พลังสังคมประชาธิปไตย จ่าสิบตำรวจ ธีรชัย ทิพย์อักษร (34) 222
รวมไทย (พ.ศ. 2529) เมธินทร์ พงษ์สิงห์ (29) 199
สหประชาธิปไตย มานะ ไกรมณี (25) 196
เกษตรอุตสาหกรรมไทย บุญเลี้ยง ประกอบผล (38) 180
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ชั้น ประกอบผล (37) 174
พลังสังคมประชาธิปไตย วีระพจน์ ดีประจำ (36) 161
สหประชาธิปไตย พงศกร มาศรักษา (26) 155
สหประชาธิปไตย เงิน โพธิ์ทอง (27) 101
รวมไทย (พ.ศ. 2529) อภิชาติ เหตุกัง (28) 88
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
มวลชน ได้ที่นั่งจาก สหประชาธิปไตย
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอเมืองบุรีรัมย์, อำเภอประโคนชัย และอำเภอกระสัง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ (1)✔ 81,581
ชาติไทย พิชิต ธีระรัชตานนท์ (3)* 68,251
สหประชาธิปไตย เนวิน ชิดชอบ (16) 67,313
ประชาธิปัตย์ การุณ ใสงาม (13)* 53,500
ชาติไทย ธีระศักดิ์ หาญประโคน (2) 30,171
มวลชน ไชยา โชติกวณิก (12) 11,316
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ธนากรณ์ หฤทัยถาวร (4) 9,153
พลังธรรม นิยม นาประโคน (19) 5,635
พลังธรรม พิทักษ์ กุสินรัมย์ (20) 4,554
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) พรรณา เจริญรัมย์ (5) 3,635
พลังธรรม ชุมพร โสมกุล (21) 3,129
ประชาธิปัตย์ จำนงค์ ปรุงเรือน (14) 1,699
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) พิพัฒน์ชัย ยอดเกษ (6) 1,619
มวลชน ดาบตำรวจ วิจิตร ปุยะติ (10) 1,608
ประชาธิปัตย์ ประทีป ชูพงศ์สุวรรณ (15) 1,431
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ธนะชัย ชูเกษ (7) 1,235
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) อินทร์ อินทร์ฉ่ำ (8) 991
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สุรชาติ เพ็ญสุขเหลือ (9) 906
สหประชาธิปไตย เอกชัย แสงบุตร (17) 828
รวมไทย (พ.ศ. 2529) อลงกรณ์ อินทร์ติยะ (23) 798
สหประชาธิปไตย สมพักตร์ ทรัพย์สุข (18) 711
มวลชน เฉลิมพล พลอามาตย์ (11) 703
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ประเทือง ภูครองจิตร (26) 598
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สงัด ศิริพันธ์ (22) 570
พลังสังคมประชาธิปไตย จวงจิตร สุรัตนโสภณ (29) 406
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) พิมพ์ศิริ วะนากลาง (25) 369
พลังสังคมประชาธิปไตย นัฐพงศ์ ศรีโท (30) 354
รวมไทย (พ.ศ. 2529) จุมพล บุตรพิมพ์ (24) 204
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วิรัตน์ กระทู้ (27) 136
พลังสังคมประชาธิปไตย พุทธา ศรีสมบัติ (28) 128
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก สหประชาธิปไตย
สหประชาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก มวลชน

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2531. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2532