ข้ามไปเนื้อหา

ราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1917–1918)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ราชอาณาจักรโปแลนด์

Königreich Polen  (เยอรมัน)
Królestwo Polskie  (โปแลนด์)
ค.ศ. 1916–ค.ศ. 1918
ธงชาติราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1917–1918)
ธงชาติ
ตราแผ่นดินของราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1917–1918)
ตราแผ่นดิน
สถานะรัฐบริวาร / รัฐหุ่นเชิด
ของจักรวรรดิเยอรมัน
เมืองหลวงวอร์ซอ
ภาษาทั่วไป
การปกครองผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
พระมหากษัตริย์ 
• ค.ศ. 1916-1918
ว่าง
ประมุขแห่งรัฐ 
• 14 มกราคม - 25 สิงหาคม
ค.ศ. 1917
สภาเฉพาะกาลแห่งรัฐa
• ค.ศ. 1917-1918
สภาผู้สำเร็จราชการแผ่นดินa
นายกรัฐมนตรี 
• พฤศจิกายน 1917 - กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1918
ยาน คูชัตเซฟสกี
• 27 กุมภาพันธ์ - 4 เมษายน ค.ศ. 1918
อันตอญี ปอนีควอฟสกี
• 4 เมษายน - 23 ตุลาคม ค.ศ. 1918
ยาน กานตี สเต็ชสคอฟสกี
• 23 ตุลาคม - 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918
ยูแซฟ ซีเวียซินีสกี
• 4-11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918
ววาดีสวัฟ วตูเบฟสกี
ยุคประวัติศาสตร์สงครามโลกครั้งที่ 1
5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1916
3 มีนาคม ค.ศ. 1918
11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918
สกุลเงิน
ก่อนหน้า
ถัดไป
รัฐบาลสามัญวอร์ซอ
สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2
  1. Ruled as collective heads of state.

ราชอาณาจักรโปแลนด์ (โปแลนด์: Królestwo Polskie; เยอรมัน: Königreich Polen) เป็นที่รู้จักกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ราชอาณาจักรผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแห่งโปแลนด์ (โปแลนด์: Królestwo Regencyjne) เป็นหน่วยการเมืองที่มีอายุสั้นและเป็นรัฐบริวารของจักรวรรดิเยอรมัน ในสงครามโลกครั้งที่ 1[1] ตั้งอยู่ในรัฐบาลสามัญวอร์ซอ

รัฐบาลเยอรมันได้ใช้นโยบายทางชนชาติที่เข้มงวด เช่น การขับไล่ชาวโปแลนด์ย้ายไปอาศัยในดินแดนบอลติกที่เยอรมันยึดครอง และ การขายทรัพย์สินของชาวโปลให้ชาวเยอรมันเพื่อแลกกับการย้ายไปตั้งถิ่นฐานโปแลนด์ ให้เหมือนกรณีของนโปเลียน โบนาปาร์ตเมื่อ ค.ศ. 1807 ได้ยกดินแดนดยุคแห่งวอร์ซอว์ให้ราชอาณาจักรปรัสเซียภายใต้สนธิสัญญาทิลซิต[2]

ภายหลังการสงบศึก 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 ซึ่งถูกลงนามโดยฝ่ายสัมพันธมิตรกับจักรวรรดิเยอรมนี ซึ่งได้ยุติสงครามโลกครั้งที่ 1 พื้นที่ดังกล่าวก็ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2 ที่ถูกสร้างขึ้นใหม่

แผนการผนวกดินแดน

[แก้]

จักรวรรดิเยอรมัน

[แก้]

ออสเตรีย-ฮังการี

[แก้]

ประวัติศาสตร์

[แก้]

สถาปนา

[แก้]

สภาแห่งรัฐ

[แก้]

รัฐธรรมนูญ "ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน"

[แก้]

สิ้นสุดการผนวกดินแดน

[แก้]

ผู้ปกครองสูงสุด

[แก้]

ผู้ว่าราชการ

[แก้]

ผู้ว่าราชการเยอรมันในวอร์ซอ, ผู้บัญชาการทหาร ปอลสกา ซีวา ซบรายนาฮันส์ ฮาร์ท ฟอน เบเซเลอร์ (1 ตุลาคม 1915 – 11 พฤศจิกายน 1918)

ผู้ว่าราชการโปแลนด์ของออสเตรีย-ฮังการี ที่เมืองลูบิน:

นิติบัญญัติ

[แก้]
คณะผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน. จากซ้ายไปขวา: ยูแซฟ ออสตรอฟสกี, อาแลกซันแดร์ กากอสกี, เจ้าชาย ซจีสวัฟ ลูบอมีร์สกี.

เขตแดน

[แก้]

ตะวันตก

[แก้]

ตะวันออก

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

เชิงอรรถ

[แก้]
  1. The Regency Kingdom has been referred to as a puppet state by Norman Davies in Europe: A history (Internet Archive, p. 910); by Jerzy Lukowski and Hubert Zawadzki in A Concise History of Poland (Google Books, p. 218); by Piotr J. Wroblel in Chronology of Polish History and Nation and History (Google Books, p. 454); and by Raymond Leslie Buell in Poland: Key to Europe (Google Books, p. 68: "The Polish Kingdom... was merely a pawn [of Germany]").
  2. Annemarie Sammartino. The Impossible Border: Germany and the East, 1914-1922. Cornell University, 2010. P. 36-37.

อ้างอิง

[แก้]
  • (โปแลนด์) Immanuel Geiss, Tzw., Polski Pas Graniczny 1914-1918, Warszawa, 1964.
  • (โปแลนด์) Janusz Pajewski, Pierwsza Wojna Światowa 1914-1918, Wydawnictwa PWN, 2005.
  • (โปแลนด์) Piotr Eberhardt, "Projekty aneksyjne Cesarstwa Niemieckiego wobec ziem polskich podczas I wojny swiatowej in Problematyka geopolityczna ziem polskich", Warszawa: PAN IGiPZ, 2008.
  • Hajo Holborn, A History of Modern Germany: 1840-1945, Princeton University Press, 1982.
  • Hein Eirch Goemans, War and punishment: the causes of war termination and the First World War, Princeton University Press, 2000.
  • (โปแลนด์) Józef Rapacki, Pro memoria. Prusak w Polsce, Wydawnictwo Tygodnika Ilustrowanego, Warszawa.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]