ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กัวลาลัมเปอร์"

พิกัด: 3°8′51″N 101°41′36″E / 3.14750°N 101.69333°E / 3.14750; 101.69333
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Upgradeboy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
| settlement_type = [[ดินแดนสหพันธ์ (มาเลเซีย)|ดินแดนสหพันธ์]]
| settlement_type = [[ดินแดนสหพันธ์ (มาเลเซีย)|ดินแดนสหพันธ์]]
<!-- การถอดเสียง -->
<!-- การถอดเสียง -->
| translit_lang1 =
| translit_lang1 = كوالا لومڤور
| translit_lang1_type = [[อักษรยาวี|ยาวี]]
| translit_lang1_type =
| translit_lang1_info =
| translit_lang1_info = 吉隆坡
| translit_lang1_type1 = [[อักษรจีนแบบมาเลเซีย|จีน]]
| translit_lang1_type1 =
| translit_lang1_info1 =
| translit_lang1_info1 = கோலாலம்பூர்
| translit_lang1_type2 = [[ภาษาทมิฬแบบมาเลเซีย|ทมิฬ]]
| translit_lang1_type2 =
| translit_lang1_info2 = <!-- etc., up to translit_lang1_type6 / translit_lang1_info6 -->
| translit_lang1_info2 = <!-- etc., up to translit_lang1_type6 / translit_lang1_info6 -->
| translit_lang2 =
| translit_lang2 =
บรรทัด 130: บรรทัด 130:
| leader_party =
| leader_party =
| leader_title = [[นายกเทศมนตรี]]
| leader_title = [[นายกเทศมนตรี]]
| leader_name = อัมหมัด เปซอล ตาลิบ
| leader_name = โมหัด อามิน นอร์ดิน อับดุล เอซิซ
| leader_title1 =
| leader_title1 =
| leader_name1 = <!-- etc., up to leader_title4 / leader_name4 -->
| leader_name1 = <!-- etc., up to leader_title4 / leader_name4 -->
บรรทัด 211: บรรทัด 211:
<!-- population -->
<!-- population -->
| population_footnotes = <ref name="statistics.gov.my" />
| population_footnotes = <ref name="statistics.gov.my" />
| population_total = 1,627,172
| population_total = 1,768,000
| population_as_of = [[พ.ศ. 2553]]
| population_as_of = [[พ.ศ. 2558]]
| population_rank =
| population_rank =
| population_density_km2 = 6,891
| population_density_km2 = auto
| population_density_sq_mi= 17,310
| population_density_sq_mi= auto
| pop_est_footnotes =
| pop_est_footnotes =
| population_est =
| population_est =

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:19, 10 เมษายน 2559

กัวลาลัมเปอร์
ดินแดนสหพันธ์กัวลาลัมเปอร์
การถอดเสียงكوالا لومڤور
 • ยาวี吉隆坡
 • จีนகோலாலம்பூர்
ด้านบน: เปโตรนาสทาวเวอร์, ถนนเปตาลิง, มัสยิดจาเม็กและกมบัก/แม่น้ำแกลงไหลมาบรรจบกัน, อนุสรณ์สถานแห่งชาติ, มัสยิดแห่งชาติ, ภาพถ่ายทางอากาศจากย่านกลางเมือง: หอคอยกัวลาลัมเปอร์
ด้านบน: เปโตรนาสทาวเวอร์, ถนนเปตาลิง, มัสยิดจาเม็กและกมบัก/แม่น้ำแกลงไหลมาบรรจบกัน, อนุสรณ์สถานแห่งชาติ, มัสยิดแห่งชาติ, ภาพถ่ายทางอากาศจากย่านกลางเมือง: หอคอยกัวลาลัมเปอร์
ธงของกัวลาลัมเปอร์
ธง
ตราอย่างเป็นทางการของกัวลาลัมเปอร์
ตรา
สมญา: 
KL, แสงสว่างแห่งเมืองสีเขียว
คำขวัญ: 
Maju dan Makmur
(ไทย: ความก้าวหน้าและการประสบความสำเร็จ)
กัวลาลัมเปอร์ตั้งอยู่ในมาเลเซียตะวันตก
กัวลาลัมเปอร์
กัวลาลัมเปอร์
พิกัด: 3°8′51″N 101°41′36″E / 3.14750°N 101.69333°E / 3.14750; 101.69333
ประเทศมาเลเซีย
ดินแดนสหพันธ์ดินแดนสหพันธ์
เขตการปกครอง
รายชื่อ
ก่อตั้งพ.ศ. 2402[1]
ก่อตั้ง (นคร)1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515
ก่อตั้ง (ดินแดนสหพันธ์)1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2517
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีโมหัด อามิน นอร์ดิน อับดุล เอซิซ
พื้นที่[2]
 • ดินแดนสหพันธ์243 ตร.กม. (94 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล2,243.27 ตร.กม. (866.13 ตร.ไมล์)
ความสูง21.95 เมตร (72 ฟุต)
ประชากร
 • ดินแดนสหพันธ์1,768,000 คน
 • ความหนาแน่น7,300 คน/ตร.กม. (19,000 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง6,608,000[4][5] คน
 • รวมปริมณฑล6,900,000[3] คน
 • ความหนาแน่นรวมปริมณฑล6,581 คน/ตร.กม. (17,040 คน/ตร.ไมล์)
ดัชนีการพัฒนามนุษย์
 • HDI (พ.ศ. 2553)0.795 (สูง) (2nd)
เขตเวลาUTC+8 (MST)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+8 (ไม่ออมแสง)
รหัสไปรษณีย์50000 ถึง 60000
รหัสพื้นที่03
ค่าเฉลี่ยเวลาสุริยคติUTC + 06:46:48
ป้ายทะเบียนพาหนะW (สำหรับพาหนะทั้งหมดยกเว้นรถแท็กซี่)
HW (รถแท็กซี่เท่านั้น)
ISO 3166-2MY-14
เว็บไซต์dbkl.gov.my

กัวลาลัมเปอร์ (มลายู: Kuala Lumpur, อักษรยาวี: كوالا لومڤور, ออกเสียงตามภาษามาเลย์ว่า กัวลาลุมปูร์) เป็นเมืองหลวงของประเทศมาเลเซียและเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศด้วย ภายในมาเลเซียเอง กัวลาลัมเปอร์มักจะเรียกย่อ ๆ ว่า KL

กัวลาลัมเปอร์เป็นหนึ่งในสามดินแดนสหพันธ์ของมาเลเซีย (Malaysian Federal Territories) ล้อมรอบด้วยรัฐสลังงอร์บนชายฝั่งตะวันตกตอนกลางของคาบสมุทรมาเลเซีย (Peninsular Malaysia)

ฝ่ายบริหารของรัฐบาลมาเลเซียได้ย้ายไปที่เมืองใหม่คือ ปูตราจายา อย่างไรก็ดี พระราชฐานของกษัตริย์ของมาเลเซีย รัฐสภามาเลเซีย และฝ่ายนิติบัญญัติยังคงอยู่ที่กัวลาลัมเปอร์

ประวัติ

ภูมิศาสตร์

ภูมิอากาศ

ข้อมูลภูมิอากาศของกัวลาลัมเปอร์
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 36
(97)
37
(99)
37
(99)
36
(97)
36
(97)
36
(97)
36
(97)
36
(97)
35
(95)
35
(95)
35
(95)
35
(95)
37
(99)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 32.1
(89.8)
32.9
(91.2)
33.2
(91.8)
33.1
(91.6)
32.9
(91.2)
32.7
(90.9)
32.3
(90.1)
32.1
(89.8)
32.1
(89.8)
32.1
(89.8)
31.6
(88.9)
31.5
(88.7)
32.4
(90.3)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 22.5
(72.5)
22.8
(73)
23.2
(73.8)
23.7
(74.7)
23.9
(75)
23.6
(74.5)
23.2
(73.8)
23.1
(73.6)
23.2
(73.8)
23.2
(73.8)
23.2
(73.8)
22.9
(73.2)
23.2
(73.8)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 18
(64)
20
(68)
20
(68)
21
(70)
21
(70)
20
(68)
19
(66)
20
(68)
20
(68)
21
(70)
21
(70)
19
(66)
18
(64)
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) 169.5
(6.673)
165.4
(6.512)
240.9
(9.484)
259.2
(10.205)
204.4
(8.047)
125.3
(4.933)
127.2
(5.008)
155.7
(6.13)
192.8
(7.591)
253.1
(9.965)
287.8
(11.331)
245.7
(9.673)
2,427.0
(95.551)
ความชื้นร้อยละ 79 79 78 80 82 80 79 79 80 81 82 79 80
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย (≥ 1.0 mm) 11 12 14 16 13 9 10 11 13 16 18 15 158
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 186.0 194.9 207.7 198.0 207.7 195.0 201.5 189.1 165.0 170.5 153.0 161.2 2,229.6
แหล่งที่มา 1: World Meteorological Organization (normals 1971-2000),[7] Hong Kong Observatory (sun only 1961-1990)[8]
แหล่งที่มา 2: BBC Weather (records)[9]

เขตการปกครอง

เศรษฐกิจ

การท่องเที่ยว

ประชากร

สถิติจำนวนผู้นับถือศาสนาต่างๆ ของกรุงกัวลาลัมเปอร์ ในปี 2010[10]
ศาสนา ร้อยละ
อิสลาม
  
46.4%
พุทธ
  
35.7%
ฮินดู
  
8.5%
คริสต์
  
5.8%
เต๋า
  
1.1%
อื่นๆ
  
2.0%
อศาสนา
  
0.5%

สถาปัตยกรรม

อาคารเปโตรนาส

สถาปัตยกรรมที่โดดเด่นของเมืองกัวลาลัมเปอร์ ได้แก่ หอคอยกัวลาลัมเปอร์ (Menara Kuala Lumpur) อาคารเปโตรนาสทาวเวอร์ (Petronas Towers) ตั้งอยู่บริเวณใจกลางย่านธุรกิจของเมือง ที่แวดล้อมด้วยสวนสาธารณะ และส่วนอาคารคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ (KLCC) อาคารเปโตรนาส เคยเป็นอาคารที่มีความสูงที่สุดในโลกในช่วง ค.ศ. 1998-2004 จนกระทั่งอาคารไทเป 101 ขึ้นมาเป็นอันดับ 1 ใน ค.ศ. 2004 แต่ยังคงเป็นอาคารแฝดที่มีความสูงที่สุดในโลก[11] อาคารเปโตรนาสมี 2 อาคาร นับเป็นอาคารที่สูงที่สุดอันดับ 8 และ 9 ของโลก[12]

การศึกษา

วัฒนธรรม

การคมนาคม

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ภาพปริทัศน์ของกัวลาลัมเปอร์
ภาพปริทัศน์ของกัวลาลัมเปอร์

อ้างอิง

  1. "Malaya Celebrates, 1959". British Pathé. สืบค้นเมื่อ 2 August 2013.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Laporan Kiraan Permulaan 2010
  3. Ministry Of Federal Territories And Urban Wellbeing. "Overview of Greater Kuala Lumpur".
  4. Helders, Stefan. "Malaysia:Metropolitan areas". World Gazetteer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 December 2012. สืบค้นเมื่อ 4 December 2007.
  5. Josh, Krist. "Kuala Lumpur: The Heart of Malaysia". Meetings AsiaPacific. Meetings Media. สืบค้นเมื่อ 13 December 2007.
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ statistics.gov.my
  7. "World Weather Information Service - Kuala Lumpur". World Meteorological Organization. สืบค้นเมื่อ January 13, 2013.
  8. "Climatological Information for Kuala Lumpur, Malaysia". Hong Kong Observatory. สืบค้นเมื่อ January 13, 2013.
  9. "Average Conditions: Kuala Lumpur". BBC. สืบค้นเมื่อ January 13, 2013.
  10. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Department of Statistics, Malaysia
  11. [1]Petronas Towers
  12. [2]World's tallest buildings - Top 200

แหล่งข้อมูลอื่น