ข้ามไปเนื้อหา

ระบอบเผด็จการ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก เผด็จการ)
เบนนิโต มุสโสลินี (ซ้าย) และ อะดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (ขวา) นโยบายและคำสั่งของฮิตเลอร์มีผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการเสียชีวิตราว 50 ล้านคนในยุโรป[1] ส่วนมุสโสลินีเป็นผู้ริเริ่มแนวคิด "ฟาสซิสต์" ในยุโรป

ระบอบเผด็จการ (อังกฤษ: dictatorship) เป็นรูปแบบรัฐบาลที่มีลักษณะคือมีผู้นำคนเดียวหรือกลุ่มเดียว และมีการทนเพียงเล็กน้อยต่อหรือไม่ทนเลยต่อความเป็นพหุนิยมทางการเมืองและต่อสื่อเสรี[2] ในคำนิยามแบบอื่น ๆ นั้น เผด็จการก็คือระบอบที่ไม่ใช่ประชาธิปไตย[2]

โลกในยุคศตวรรษที่ 19 ถึง 20 มีระบอบเผด็จการ กับระบอบประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญเกิดขึ้นเป็นรูปแบบของรัฐหลักสองรูปแบบ ซึ่งค่อยลดทอนระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ลงในยุคต้นปฏิวัติอุตสาหกรรม สังคมเผด็จการ และเผด็จการเบ็ดเสร็จมักใช้โฆษณาชวนเชื่อเพื่อลดทอนอิทธิพลของคู่ตรงข้ามทางการเมืองหรือระบอบการปกครองอื่นลง[3][4]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Del Testa, David W; Lemoine, Florence; Strickland, John (2003). Government Leaders, Military Rulers, and Political Activists. Greenwood Publishing Group. p. 83. ISBN 978-1-57356-153-2.
  2. 2.0 2.1 Ezrow, Natasha (2011). Dictators and dictatorships : understanding authoritarian regimes and their leaders. Frantz, Erica. New York: Continuum. ISBN 978-1-4411-1602-4. OCLC 705538250.
  3. Tucker, Robert C. (1965). "The Dictator and Totalitarianism". World Politics. 17 (4): 555–83. doi:10.2307/2009322. JSTOR 2009322. OCLC 4907282504.
  4. Cassinelli, C. W. (1960). "Totalitarianism, Ideology, and Propaganda". The Journal of Politics. 22 (1): 68–95. doi:10.2307/2126589. JSTOR 2126589. OCLC 6822391923. S2CID 144192403.

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

[แก้]
  • Friedrich, Carl J.; Zbigniew K. Brzezinski (1965). Totalitarian Dictatorship and Autocracy (2nd ed.). Praeger.
  • Bueno de Mesquita, Bruce; Alastair Smith; Randolph M. Siverson; James D. Morrow (2003). The Logic of Political Survival. The MIT Press. ISBN 0-262-63315-9.