ข้ามไปเนื้อหา

องค์การระหว่างประเทศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

องค์การระหว่างประเทศ (อังกฤษ: international organisation/organization) เป็นองค์การที่มีสมาชิก ขอบเขต หรือการปรากฏตัวในระดับนานาชาติ มีสองประเภทดังนี้[1]

องค์การระหว่างรัฐบาลองค์การแรกและเก่าแก่ที่สุด คือ คณะกรรมการกลางเพื่อการเดินเรือในแม่น้ำไรน์ (Central Commission for Navigation on the Rhine) ซึ่งที่ประชุมเวียนนา (Congress of Vienna) จัดตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1815

บทบาทขององค์การระหว่างประเทศ คือ ช่วยวางระเบียบวาระในระดับสากล เป็นตัวกลางในการเจรจาทางการเมือง จัดให้มีพื้นที่สำหรับการริเริ่มทางการเมือง และกระตุ้นการสร้างพันธมิตร ตลอดจนกำหนดประเด็นโดดเด่นต่าง ๆ เพื่อช่วยให้รัฐบาลกำหนดลำดับความสำคัญ

อ้างอิง

[แก้]
  1. The Penguin Dictionary of International Relations divides modern international organizations into two "basic types, the 'public' variety known as intergovernmental organizations (IGOs) and the 'private' variety, the international non-governmental organization (INGOs)." (Evans, Graham, and Richard Newnham. Penguin Dictionary of International Relations. Penguin, 1998, p. 270.)
  2. "Intergovernmental organizations having received a standing invitation to participate as observers in the sessions and the work of the General Assembly and maintaining permanent offices at Headquarters." United Nations Department of Public Information, United Nations Secretariat.