ลัทธินิยมสถาบันพระมหากษัตริย์
(เปลี่ยนทางจาก กษัตริย์นิยม)
ส่วนหนึ่งของชุดการเมือง | ||||||||
ระบอบการปกครอง พื้นฐาน | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
โครงสร้างอำนาจ | ||||||||
|
||||||||
บ่อเกิดอำนาจ | ||||||||
|
||||||||
อุดมการณ์อำนาจ | ||||||||
|
||||||||
สถานีย่อย:การเมือง | ||||||||
ลัทธินิยมสถาบันพระมหากษัตริย์ (อังกฤษ: royalism) เป็นลัทธิที่สนับสนุนราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ หรือราชวงศ์ใดโดยเฉพาะ เพื่อเป็นประมุขแห่งรัฐ แนวคิดดังกล่าวมีความแตกต่างจาก ลัทธินิยมราชาธิปไตย (อังกฤษ: monarchism) ที่สนับสนุนการปกครองแบบราชาธิปไตย แต่ต่างกันที่ไม่ได้เจาะจงพระมหากษัตริย์หรือราชวงศ์ใดโดยเฉพาะ
ในภาษาไทย บางทีเรียกลัทธินิยมสถาบันพระมหากษัตริย์ว่า กษัตริยนิยม[1] กษัตริย์นิยม[2] ลัทธินิยมเจ้า[1] กระแสนิยมเจ้า[1] หรือ ราชวงศนิยม[2]
ประเทศไทย[แก้]
ในประเทศไทย ลัทธินี้ปรากฏในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแทบทุกฉบับที่มีมา เช่น ฉบับ พ.ศ. 2560 มาตรา 6 ว่า [3]
องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้
ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้
อ้างอิง[แก้]
- ธงชัย วินิจจะกูล. (2548). วาทกรรมพระราชอำนาจหรือประชาธิปไตยแบบคิดสั้น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <ลิงก์>. (เข้าถึงเมื่อ: 14 กุมภาพันธ์ 2553).
- Political Prisoners in Thailand. (2549, 13 สิงหาคม). ปกป้องและโฆษณา ลัทธิกษัตริย์นิยม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: <ลิงก์[ลิงก์เสีย]>. (เข้าถึงเมื่อ: 14 กุมภาพันธ์ 2553).