ข้ามไปเนื้อหา

อันดับของขนาด (ความยาว)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก เซตตะเมตร)
อันดับของขนาด
พื้นที่
หน่วยเงิน
ข้อมูล
ความหนาแน่น
พลังงาน
ความถี่
ความยาว
มวล
จำนวน
กำลัง
ความดัน
ความจุความร้อนจำเพาะ
ความเร็ว
อุณหภูมิ
เวลา
ปริมาตร
การเปลี่ยนหน่วย
หน่วยฟิสิกส์
หน่วยเอสไอ
หน่วยฐานเอสไอ
หน่วยอนุพันธ์เอสไอ
คำนำหน้าหน่วยเอสไอ
หน่วยพลังค์


ตารางต่อไปนี้เป็นตัวอย่างของขนาดความยาวเพื่อช่วยในการเปรียบเทียบอันดับของขนาด ระหว่าง  เมตร และ  เมตร

รายชื่ออันดับของขนาดตามความยาว
ตัวคูณ ผลคูณ ค่า วัตถุ
10−35 1.616 252×10−35 เมตร ความยาวพลังค์ ความยาวที่น้อยกว่านี้ไม่สร้างปฏิกิริยาทางฟิสิกส์, ซึ่งตรงกับทฤษฎีฟิสิกส์ในปัจจุบัน[1]
10−24 1 ยอกโตเมตร (ym) 2 ยอกโตเมตร (2×10−24 เมตร) ขนาดรัศมีของนิวทริโนพลังงาน 1เมกะอิเล็กตรอนโวลต์[2]
10−21 1 เซปโตเมตร (zm) 7 เซปโตเมตร (7×10−21 เมตร) ขนาดรัศมีของนิวทริโนพลังงานสูง[3]
10−18 1 อัตโตเมตร (am) ขนาดรัศมีต่ำสุดของควาร์ก และอิเล็กตรอน
10−16 100 อัตโตเมตร 850 อัตโตเมตร ขนาดรัศมีของ โปรตอน
10−15 1 เฟมโตเมตร (fm) 2.817 94 เฟมโตเมตร ขนาดรัศมีของอิเล็กตรอน ในทฤษฎีกลศาสตร์ดั้งเดิม[4]
10−12 1 พิโคเมตร (pm) 1 พิโคเมตร ระยะห่างระหว่างนิวเคลียสของอะตอมในดาวแคระขาว
5 พิโคเมตร ความยาวคลื่นที่สั้นที่สุดของรังสีเอ็กซ์
10−11 10 พิโคเมตร 25 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุไฮโดรเจน
31 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุฮีเลียม
38 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุนีออน
42 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุฟลูออรีน
48 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุออกซิเจน
56 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุไนโตรเจน
67 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุคาร์บอน
71 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุโบรอน
79 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุอาร์กอน
88 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุกำมะถัน
88 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุคริปทอน
94 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุโบรมีน
98 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุฟอสฟอรัส
10−10 1 อังสตรอม (Å) 0.1 นาโนเมตร 1 อังสตรอม (Ångström)
167 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุลิเทียม
112 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุเบริลเลียม
190 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุโซเดียม
145 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุแมกนีเซียม
167 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุโพแทสเซียม
112 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุแคลเซียม
265 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุรูบิเดียม
219 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุสตรอนเชียม
298 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุซีเซียม
253 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุแบเรียม
348 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุแฟรนเซียม
283 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุเรเดียม
372 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุอูนอูนเอนเนียม
316 พิโคเมตร รัศมีอะตอมของธาตุอูนไบนิลเลียม
10−9 1 นาโนเมตร (nm) 2 นาโนเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางสายเกลียวของดีเอ็นเอ[5]
10−8 10 นาโนเมตร 42 นาโนเมตร ขนาดของ ไวรัสตับอักเสบบี
60 นาโนเมตร ความยาวของคลื่นอัลตราไวโอเลต
90 นาโนเมตร ขนาดของ เชื้อเฮชไอวี
10−7 100 นาโนเมตร 400 นาโนเมตร ขนาดของ มิมิไวรัส (Mimivirus)[6]
10−6 1ไมโครเมตร (um) 1.5 ไมโครเมตร ขนาดของโครโมโซม Y
4 ไมโครเมตร ขนาดของโครโมโซม X
7 ไมโครเมตร ขนาดของเม็ดเลือดแดง
10−5 10 ไมโครเมตร 15 ไมโครเมตร ความยาวของคลื่นอินฟราเรด
35 ไมโครเมตร ขนาดของเซลล์ผิวหนัง
50 ไมโครเมตร ขนาดของอนุภาคตะกอน
10−4 100 ไมโครเมตร 0.1 มิลลิเมตร ความกว้างเส้นผมของมนุษย์
100 ไมโครเมตร ขนาดของวัตถุที่เล็กที่สุดที่มองได้ด้วยตาเปล่า
120 ไมโครเมตร ขนาดของเซลล์ไข่ในร่างกายมนุษย์
150 ไมโครเมตร ความหนาของกระดาษ 1 แผ่น
200 ไมโครเมตร ขนาดของพารามีเซียม
350 ไมโครเมตร ขนาดของอะมีบา
500 ไมโครเมตร ขนาดของทรายและเกลือ 1 เม็ด
750 ไมโครเมตร ขนาดของแบคทีเรีย (Thiomargarita namibiensis) ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด (พ.ศ. 2553)
10−3 1 มิลลิเมตร (mm) 2 มิลลิเมตร ขนาดของแหน
5 มิลลิเมตร ความยาวโดยทั่วไปของมดแดง
5 มิลลิเมตร ขนาดของลูกเห็บ
7 มิลลิเมตร ขนาดของเมล็ดทานตะวัน
10−2 1 เซนติเมตร (cm) 10 มิลลิเมตร ขนาดของเมล็ดกาแฟ
1.9 เซนติเมตร ขนาดของเหรียญเพนนีของสหรัฐ
2.54 เซนติเมตร 1 นิ้ว
3.1 เซนติเมตร 1 อัตโตพาร์เซก
5 เซนติเมตร ความยาวของไม้ขีดไฟ
5.5 เซนติเมตร ขนาดของไข่ไก่
10−1 1 เดซิเมตร (dm) 10 เซนติเมตร ขนาดของกระแต
22 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของลูกฟุตบอลมาตรฐาน
24 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของลูกบาสเกตบอล
25 เซนติเมตร ขนาดของกาน้ำชาของรัสเซลล์[7]
29.98 เซนติเมตร ระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 นาโนวินาที
30 เซนติเมตร ความยาวของไม้บรรทัด
30.48 เซนติเมตร 1 ฟุต
91 เซนติเมตร 1 หลา
100 1 เมตร (m) 1.7 เมตร (5 ฟุต 7 นิ้ว) ความสูงโดยเฉลี่ยของมนุษย์
2.44 เมตร ความสูงของประตูฟุตบอล
2.45 เมตร การกระโดดที่สูงที่สุดของมนุษย์ที่เคยถูกบันทึกไว้ (Javier Sotomayor)
2.72 เมตร มนุษย์ที่สูงที่สุดที่เคยถูกบันทึกไว้ (Robert Wadlow)[8]
3.048 เมตร (10 ฟุต) ความสูงของห่วงบาสเกตบอลจากพื้นดิน
5.5 เมตร ความสูงของยีราฟ (สัตว์ที่สูงที่สุดในโลก)
8.95 เมตร การกระโดดไกลที่ไกลที่สุดของมนุษย์ที่ถูกบันทึกไว้ (Mike Powell)
101 1 เดคาเมตร (dam) 33 เมตร ความยาวที่มากที่สุดที่มีการบันทึกของวาฬสีน้ำเงิน (สัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก)[9]
49 เมตร (53 1/3 หลา) ความกว้างของสนามอเมริกันฟุตบอล
52 เมตร ความสูงของน้ำตกไนแอการา
55 เมตร ความสูงของหอเอนเมืองปิซา ประเทศอิตาลี
65 เมตร ความยาวของเครื่องบินโบอิง 747
70 เมตร ความกว้างของสนามฟุตบอลมาตรฐาน
93.47 เมตร ความสูงของอนุสาวรีย์เทพีเสรีภาพ สหรัฐ
102 1 เฮกโตเมตร (hm) 105 เมตร ความยาวของสนามฟุตบอลมาตรฐาน
109.73 เมตร (120 หลา) ความยาวทั้งหมดของสนามอเมริกันฟุตบอล
115.55 เมตร ความสูงของต้นไม้ที่สูงที่สุดในโลก
137 เมตร (147 เมตร) ความสูงของมหาพีระมิดแห่งกีซา ประเทศอียิปต์ ในปัจจุบัน (อดีต)
139.5 เมตร รางรถไฟเหาะตีลังกาที่มีความสูงที่สุดในโลก มีชื่อว่า Kingda Ka สหรัฐ[10]
270 เมตร ความยาวของเรือไททานิก
299.792 เมตร ระยะทางของแสงที่เดินทางในเวลา 1 ไมโครวินาที
320 เมตร ความสูงของหอไอเฟล ประเทศฝรั่งเศส
340 เมตร ระยะทางของเสียงที่เดินทางในเวลา 1 วินาที
828 เมตร ความสูงของตึกบุรจญ์เคาะลีฟะฮ์ ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นสิ่งก่อสร้างที่มีความสูงที่สุดในโลก
979 เมตร ความสูงของน้ำตกแองเจิล ประเทศเวเนซูเอลา น้ำตกที่สูงที่สุดในโลก
103 1 กิโลเมตร (km) 1,609 เมตร 1 ไมล์
2,565 เมตร ความสูงจากระดับน้ำทะเลของของดอยอินทนนท์
4,000 เมตร ความยาวของเซ็นทรัลพาร์ก ในนครนิวยอร์ก
8,848 เมตร ความสูงของเอเวอเรสต์ ภูเขาที่มีความสูงที่สุดในโลก
104 10 กิโลเมตร 10.2 กิโลเมตร ความสูงของภูเขาไฟเมานาเคอา เมื่อวัดจากตีนเขา
10.911 กิโลเมตร ความลึกของร่องลึกบาดาลมาเรียนา
10.96 กิโลเมตร ความยาวของส่วนที่แคบที่สุดของประเทศไทยที่ตำบลห้วยทราย อำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
11 กิโลเมตร ขนาดของดาวหางแฮลลีย์
13 กิโลเมตร ความกว้างของช่องแคบยิบรอลตาร์ คั่นระหว่างทวีปเอเชียและทวีปยุโรป
24 กิโลเมตร ขนาดของดาวนิวตรอน
25 กิโลเมตร ความสูงของภูเขาไฟโอลิมปัส บนดาวอังคาร เป็นภูเขาที่มีความสูงมากที่สุดในระบบสุริยะ
42 กิโลเมตร การกระโดดร่มที่สูงที่สุดที่เคยบันทึกไว้ (Alan Eustace)[11]
42.195 กิโลเมตร ระยะทางของการวิ่งมาราธอน
53.5 กิโลเมตร ความยาวของคลองแสนแสบ คลองที่ยาวที่สุดในประเทศไทย[12]
75 กิโลเมตร ขนาดของรัฐโรดไอแลนด์ รัฐที่เล็กที่สุดของสหรัฐ
77.1 กิโลเมตร ความยาวของคลองปานามา
90 กิโลเมตร ความกว้างของช่องแคบแบริง คั่นระหว่างรัสเซียและอะแลสกา
105 100 กิโลเมตร 120 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของประเทศบรูไน
154 กิโลเมตร ความยาวของรัฐเดลาแวร์
163 กิโลเมตร ความยาวของคลองสุเอซ
240 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของประเทศรวันดา
300 กิโลเมตร ระยะทางของแสงที่เดินทางในเวลา 1 มิลลิวินาที
400 กิโลเมตร ขนาดของรัฐเวสต์เวอร์จิเนีย
450 กิโลเมตร ความยาวของแกรนด์แคนยอน
765 กิโลเมตร ความยาวของแม่น้ำชี แม่น้ำที่ยาวที่สุดในประเทศไทย
974.6 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวเคราะห์แคระ เซเรส[13]
106 1 เมกะเมตร (Mm) 1,100 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของประเทศอิตาลี
1,200 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของรัฐแคลิฟอร์เนีย
1,200 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของรัฐเท็กซัส
1,700 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของรัฐเกแบ็ก รัฐที่ใหญ่ที่สุดของแคนาดา
1,800 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของนูนาวุต ดินแดนที่ใหญ่ที่สุดของแคนาดา
2,285 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของรัฐอะแลสกา รัฐที่ใหญ่ที่สุดของสหรัฐ
2,390 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวพลูโต
2,700 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของไทรทัน
3,480 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของดวงจันทร์
4,200 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของสหรัฐ
4,900 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวพุธ
6,400 กิโลเมตร ความยาวทั้งหมดของกำแพงเมืองจีน ประเทศจีน
6,600 กิโลเมตร ความยาวโดยประมาณของแม่น้ำไนล์และแม่น้ำอะเมซอน แม่น้ำที่มีความยาวมากที่สุดในโลก
6,800 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวอังคาร
8,000 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของทวีปเอเชีย
9,288 กิโลเมตร ความยาวของทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย ประเทศรัสเซีย เป็นทางรถไฟที่มีความยาวมากที่สุดในโลก
107 10,000 กิโลเมตร 12,756 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของโลก
20,000 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของซิริอุส บี
40,075 กิโลเมตร ความยาวเส้นศูนย์สูตรของโลก
49,200 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวเนปจูน
51,750 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวยูเรนัส
64,000 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของโลกไมน์คราฟต์
108 100,000 กิโลเมตร 142,984 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวพฤหัสบดี
299,792.458 กิโลเมตร ระยะทางของแสงที่เดินทางในเวลา 1 วินาที
384,000 กิโลเมตร ระยะห่างจากโลกถึงดวงจันทร์
930,000 กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด (GQ Lupi b)[14]
109 1 จิกะเมตร (Gm) 1,390,000 กิโลเมตร (1.39 จิกะเมตร) เส้นผ่านศูนย์กลางของดวงอาทิตย์
2,500,000 กิโลเมตร (2.5 จิกะเมตร) เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวซิริอุส เอ
9,600,000 กิโลเมตร (9.6 จิกะเมตร) เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวรวงข้าว (Spica)
1010 10 ล้าน กิโลเมตร 10 ล้าน กิโลเมตร ความสูงรวมกันของคนทั้งหมดบนโลก
18 ล้าน กิโลเมตร ระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 นาที
40 ล้าน กิโลเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของดาวเหนือ
1011 100 ล้าน กิโลเมตร 150,000,000 กิโลเมตร 1 หน่วยดาราศาสตร์ (หน่วยวัดระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์)
1012 1 เทระเมตร (Tm) 1.4×109 กิโลเมตร ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงดาวเสาร์
5.9×109 กิโลเมตร (5.9 เทระเมตร) ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงดาวพลูโต
1013 10 เทระเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของระบบสุริยะ (ในขณะนี้)[15]
15×109 กิโลเมตร = 15 เทระเมตร ขนาดของแถบไคเปอร์
15.147×109 กิโลเมตร = 15.147 เทระเมตร ระยะทางของยานวอยเอจเจอร์ 2 จากดวงอาทิตย์ (28 มีนาคม พ.ศ. 2556)
20×109 กิโลเมตร = 20 เทระเมตร ขนาดของเนบิวลาโอมุนคูลัส เนบิวลาที่มีขนาดเล็กที่สุด
21.49×109 กิโลเมตร = 21.49 เทระเมตร ระยะทางของยานวอยเอจเจอร์ 1 จากดวงอาทิตย์ (ตุลาคม พ.ศ. 2561) เป็นวัตถุมนุษย์สร้างขึ้นที่ไปได้ไกลที่สุด[16]
26×109 กิโลเมตร = 26 เทระเมตร 1 วันแสง
55×109 กิโลเมตร = 55 เทระเมตร ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงดาวหางเฮล-บอปป์ ขณะมีระยะห่างกันมากที่สุด
1014 100 เทระเมตร 140×109 กิโลเมตร = 140 เทระเมตร ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงดาวเคราะห์น้อยเซดนา ขณะมีระยะห่างกันมากที่สุด
800×109 กิโลเมตร = 800 เทระเมตร ขนาดของเนบิวลาสติงเรย์[17]
1015 1 เพตะเมตร (Pm) 9.46×1012 กิโลเมตร (9.46 เพตะเมตร) 1 ปีแสง (ระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ปี) ยานวอยเอเจอร์ 1 ต้องใช้เวลาเดินทาง 17,500 ปี จึงจะมีระยะทางเท่ากับ 1 ปีแสง
1016 10 เพตะเมตร 3.2616 ปีแสง (3.08568×1016 เมตร = 30.8568 เพตะเมตร) 1 พาร์เซก
4.22 ปีแสง (39.9 เพตะเมตร) ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ถึงดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้ระบบสุริยะมากที่สุด (ดาวพร็อกซิมาคนครึ่งม้า)
4.37 ปีแสง (41.3 เพตะเมตร) ระยะห่างของดาวเคราะห์นอกระบบที่อยู่ใกล้ที่สุด (ดาวอัลฟาคนครึ่งม้า บีบี) ที่ถูกค้นพบเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2556
10.4 ปีแสง (98.4 เพตะเมตร) ระยะห่างของดาวเคราะห์นอกระบบ (ดาวเอปไซลอน แม่น้ำ บี)
1017 100 เพตะเมตร 20.4 ปีแสง (193 เพตะเมตร) ระยะห่างของดาวเคราะห์ที่นักวิทยาศาสตร์คาดว่าจะมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ที่ใกล้ที่สุด (กลีเซอ 581 ดี) ที่ถูกค้นพบเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553
65 ปีแสง (615 เพตะเมตร) ค่าประมาณของรัศมีของฟองวิทยุของมนุษย์ที่เกิดจากการถ่ายทอดทีวีกำลังสูง รั่วไหลผ่านชั้นบรรยากาศออกไปนอกอวกาศ
1018 1 เอกซะเมตร (Em) 200 ปีแสง = 2 เอกซะเมตร, 2×1018 กิโลเมตร ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถึงระบบดาวฤกษ์คู่ที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับดวงอาทิตย์ที่ใกล้ที่สุด (HIP 56948)[18]
600 ปีแสง = 6 เอกซะเมตร, 6×1018 กิโลเมตร ขนาดของเนบิวลาที่ใหญ่ที่สุด (เนบิวลาทารันทูลา)
1019 10 เอกซะเมตร 1,000 ปีแสง = 9.46 เอกซะเมตร, 9.46×1015 กิโลเมตร ความหนาของกาแล็กซีทางช้างเผือกโดยประมาณ
1020 100 เอกซะเมตร 12,000 ปีแสง = 113.5 เอกซะเมตร หรือ 1.135×1020 กิโลเมตร ความหนาของของแผ่นแก๊สของดาราจักรทางช้างเผือก[19]
1021 1 เซตตะเมตร (Zm) 100,000 ปีแสง เส้นผ่านศูนย์กลางของกาแล็กซีทางช้างเผือก
52 กิโลพาร์เซก = 1.6×1021 เมตร = 1.6 เซตตะเมตร ระยะห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือกถึงเมฆแมเจลแลนใหญ่
54 กิโลพาร์เซก = 1.66 เซตตะเมตร ระยะห่างจากกาแล็กซีทางช้างเผือกถึงเมฆแมเจลแลนเล็ก
1022 10 เซตตะเมตร 22.3 เซตตะเมตร = 2.36 ล้านปีแสง = 725 กิโลพาร์เซก ระยะห่างจากดาราจักรทางช้างเผือกถึงดาราจักรแอนโดรเมดา
50 เซตตะเมตร (1.6 ล้านพาร์เซก) เส้นผ่านศูนย์กลางของกลุ่มท้องถิ่น (Local Group)
52.02 เซตตะเมตร (5.5 ล้านปีแสง) เส้นผ่านศูนย์กลางของไอซี 1101 (IC 1101) ดาราจักรที่ใหญ่ที่สุดที่ค้นพบจนถึงปัจจุบัน[20]
1023 100 เซตตะเมตร 300–600 เซตตะเมตร = 10–20 เมกะพาร์เซก เส้นผ่านศูนย์กลางของกลุ่มกระจุกดาราจักรท้องถิ่น (Virgo Cluster)
1024 1 ยอตตะเมตร (Ym) 200 ล้านปีแสง = 1.9 ยอตตะเมตร = 61 เมกะพาร์เซก เส้นผ่านศูนย์กลางของกลุ่มกระจุกดาราจักรลาเนียเคอา (Local Supercluster)
300 ล้านปีแสง = 2.8 ยอตตะเมตร = 100 เมกะพาร์เซก เส้นผ่านศูนย์กลางของจุดสิ้นสุดของความยิ่งใหญ่ (End of Greatness)[21]
550 ล้านปีแสง = ~5 ยอตตะเมตร = ~170 เมกะพาร์เซก เส้นผ่านศูนย์กลางของกลุ่มกระจุกดาวดาราจักรนาฬิกา (Horologium-Reticulum Supercluster)[22]
1 พันล้านปีแสง = 9.46 ยอตตะเมตร = 306 เมกะพาร์เซก เส้นผ่านศูนย์กลางของกลุ่มกระจุกดาวดาราจักรซับซ้อนพิสเซส-ซีตัส (Pisces–Cetus Supercluster Complex)[23]
1025 10 ยอตตะเมตร 1.37 พันล้านปีแสง = 13 ยอตตะเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของกำแพงใหญ่สโลน[24]
1026 100 ยอตตะเมตร 92×109 ปีแสง = 9.2×1026 เมตร = 920 ยอตตะเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของเอกภพที่สังเกตได้ (Observable Universe)[15]
1027 1,000 ยอตตะเมตร 2 แสนล้านปีแสง = 2.4×1027 เมตร = 2,400 ยอตตะเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางของเอกภพถ้าอยู่ในรูปของทรงกลม 3 ทรงกลม[25]
1028 10,000 ยอตตะเมตร 7.8 ล้านล้านปีแสง = 7.4×1028 เมตร = 74,000 ยอตตะเมตร ขอบเขตต่ำสุดของเอกภพเช่นเดียวกับที่ตรวจวัดได้จากยานอวกาศพลังค์[26]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Planck length". NIST. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 November 2018. สืบค้นเมื่อ 7 January 2019.
  2. Carl R. Nave. "Cowan and Reines Neutrino Experiment". Hyperphysics. สืบค้นเมื่อ 2008-12-04. (6.3 × 10−44 cm2, which gives an effective radius of about 2 × 10−24 m)
  3. Carl R. Nave. "Neutron Absorption Cross-sections". Hyperphysics. สืบค้นเมื่อ 2008-12-04. (area for 20 GeV about 10 × 10−42 m2 gives effective radius of about 2 × 10−21 m; for 250 GeV about 150 × 10−42 m2 gives effective radius of about 7 × 10−21 m)
  4. "CODATA Value: classical electron radius". The NIST Reference on Constants, Units, and Uncertainty. NIST.
  5. Stewart, Robert. "Dr". Radiobiology Software. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-06-30. สืบค้นเมื่อ 2015-05-20.
  6. Klose T.; Kuznetsov Y. G.; และคณะ (2010). "The three-dimensional structure of Mimivirus". Intervirology. 53 (5): 268–273. doi:10.1159/000312911. PMID 20551678.
  7. Bertrand Russell (1952). "Is There a God?". Illustrated Magazine. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-10. สืบค้นเมื่อ 2019-12-03.
  8. "Robert Wadlow: Tallest man ever". Guinness World Records.
  9. "Animal Records". Smithsonian National Zoological Park. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 August 2004.
  10. Marden, Duane (25 May 2012). "Kingda Ka (Six Flags Great Adventure)". Roller Coaster DataBase.
  11. Markoff, John (24 October 2014). "Parachutist's Record-Breaking Fall: 26 Miles, 15 Minutes". The New York Times. สืบค้นเมื่อ October 24, 2014.
  12. ศานติ ภักดีคำ (ตุลาคม 2557). "คลองแสนแสบ หรือคลองบางขนาก คลองขุดเพื่อการเดินทัพไทย-เขมร". ยุทธมรรคา เส้นทางเดินทัพไทยเขมร. มติชน, สนพ. pp. 104–106. ISBN 9789740213420.
  13. Thomas PC, Parker JW, McFadden LA, Russell CT, Stern SA, Sykes MV, Young EF (September 2005). "Differentiation of the asteroid Ceres as revealed by its shape". Nature. 437 (7056): 224–6. Bibcode:2005Natur.437..224T. doi:10.1038/nature03938. PMID 16148926.
  14. Ralph Neuhäuser; Markus Mugrauer; และคณะ (2008). "Astrometric and photometric monitoring of GQ Lupi and its sub-stellar companion". Astronomy and Astrophysics. 484 (1): 281–291. Bibcode:2008A&A...484..281N. doi:10.1051/0004-6361:20078493.
  15. 15.0 15.1 Cliff Burgess; Fernando Quevedo (November 2007). "The Great Cosmic Roller-Coaster Ride". Scientific American. p. 55. สืบค้นเมื่อ 2017-05-01.
  16. "Spacecraft escaping the Solar System". Heavens Above. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 October 2018. สืบค้นเมื่อ 19 October 2018.
  17. Bobrowsky, Matthew (1994). "Narrowband HST Imagery of the Young Planetary Nebula Henize 1357". The Astrophysical Journal. 426: L47–L50. Bibcode:1994ApJ...426L..47B. doi:10.1086/187336.
  18. Shiga, David. "Sun's 'twin' an ideal hunting ground for alien life". New Scientist. สืบค้นเมื่อ 2007-10-03.
  19. "Milky Way fatter than first thought". The Sydney Morning Herald. Australian Associated Press. 20 February 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 April 2008. สืบค้นเมื่อ 2008-11-14.
  20. Uson, Juan M.; Boughn, Stephen P.; Kuhn, Jeffrey R. (March 1991). "Diffuse light in dense clusters of galaxies. I. R-band observations of Abell 2029". The Astrophysical Journal. 369: 46–53. Bibcode:1991ApJ...369...46U. doi:10.1086/169737.
  21. Robert P Kirshner (2002). The Extravagant Universe: Exploding Stars, Dark Energy and the Accelerating Cosmos. Princeton University Press. p. 71. ISBN 978-0-691-05862-7.
  22. Richard Powell, บ.ก. (30 July 2006). "The Horologium Supercluster".
  23. Tully, R. Brent (1987-12-01). "More about clustering on a scale of 0.1 C". The Astrophysical Journal. 323: 1–18. Bibcode:1987ApJ...323....1T. doi:10.1086/165803.
  24. J. R. Gott III et al., Astrophys. J., 624, 463 (2005). Figure 8 - "Logarithmic Maps of the Universe" - is available as a poster from the homepage of Mario Juric. เก็บถาวร 2009-01-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  25. Scott, Douglas; Zibin, J.P. (2006). "How Many Universes Do There Need To Be?". International Journal of Modern Physics D. 15 (12): 2229–2233. arXiv:astro-ph/0605709v2. Bibcode:2006IJMPD..15.2229S. doi:10.1142/S0218271806009662.
  26. Thiago S. Pereira; Luis Gustavo T. Silva (3 April 2013). "Inflationary Super-Hubble Waves and the Size of the Universe". 1. arXiv:1304.1181v1.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]