เบริลเลียม
|
|
|
เบริลเลียมในตารางธาตุ
|
ลักษณะปรากฏ
|
โลหะแข็งสีเทาขาว
|
คุณสมบัติทั่วไป
|
ชื่อ สัญลักษณ์ และเลขอะตอม
|
เบริลเลียม, Be, 4
|
การออกเสียง
|
/bəˈrɪliəm/ bə-ril-ee-əm
|
อนุกรมเคมี
|
โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท
|
หมู่ คาบและบล็อก
|
2 (โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท), 2, s
|
มวลอะตอมมาตรฐาน
|
9.0121831(5)
|
การจัดเรียงอิเล็กตรอน
|
[He] 2s2 2, 2
|
ประวัติ
|
การค้นพบ
|
Louis Nicolas Vauquelin (1797)
|
การแยกครั้งแรก
|
Friedrich Wöhler & Antoine Bussy (1828)
|
คุณสมบัติกายภาพ
|
สถานะ
|
ของแข็ง
|
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.)
|
1.85 g·cm−3
|
ความหนาแน่นของเหลวที่จุดหลอมเหลว
|
1.690 g·cm−3
|
จุดหลอมเหลว
|
1560 K, 1287 °C, 2349 °F
|
จุดเดือด
|
2741 K, 2468 °C, 4474 °F
|
จุดวิกฤต
|
(extrapolated) 5205 K, MPa
|
ความร้อนของการหลอมเหลว
|
12.2 kJ·mol−1
|
ความร้อนของการกลายเป็นไอ
|
297 kJ·mol−1
|
ความจุความร้อนโมลาร์
|
16.443 J·mol−1·K−1
|
ความดันไอ
|
P (Pa)
|
1
|
10
|
100
|
1 k
|
10 k
|
100 k
|
ที่ T (K)
|
1462
|
1608
|
1791
|
2023
|
2327
|
2742
|
|
คุณสมบัติอะตอม
|
สถานะออกซิเดชัน
|
2, 1[1] (amphoteric oxide)
|
อิเล็กโตรเนกาติวิตี
|
1.57 (Pauling scale)
|
พลังงานไอออไนเซชัน
|
ค่าที่ 1: 899.5 kJ·mol−1
|
ค่าที่ 2: 1757.1 kJ·mol−1
|
ค่าที่ 3: 14848.7 kJ·mol−1
|
รัศมีอะตอม
|
112 pm
|
รัศมีโควาเลนต์
|
96±3 pm
|
รัศมีวานเดอร์วาลส์
|
153 pm
|
จิปาถะ
|
โครงสร้างผลึก
|
เฮกซะโกนัลปิดบรรจุ
|
ความเป็นแม่เหล็ก
|
ไดอะแมกเนติก
|
สภาพนำไฟฟ้า
|
(20 °C) 36 nΩ·m
|
สภาพนำความร้อน
|
200 W·m−1·K−1
|
การขยายตัวจากความร้อน
|
(25 °C) 11.3 µm·m−1·K−1
|
ความเร็วเสียง (thin rod)
|
(ที่ r.t.) 12890[2] m·s−1
|
มอดุลัสของยัง
|
287 GPa
|
โมดูลัสของแรงเฉือน
|
132 GPa
|
โมดูลัสของแรงบีบอัด
|
130 GPa
|
อัตราส่วนปัวซอง
|
0.032
|
ความแข็งของโมส์
|
5.5
|
ความแข็งวิกเกอร์ส
|
1670 MPa
|
ความแข็งของบริเนลล์
|
600 MPa
|
เลขทะเบียน CAS
|
7440-41-7
|
ไอโซโทปเสถียรที่สุด
|
บทความหลัก: ไอโซโทปของเบริลเลียม
|
|
|
อ้างอิง
|
เบริลเลียม (อังกฤษ: Beryllium) เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ Be และเลขอะตอม 4 เป็นธาตุไบวาเลนต์ที่มีพิษ น้ำหนักอะตอม 9.0122 amu จุดหลอมเหลว 1287°C จุดเดือด (โดยประมาณ) 2970°C ความหนาแน่น (จากการคำนวณ) 1.85 g/cm3 เลขออกซิเดชันสามัญ + 2 เบริลเลียมเป็นโลหะแอลคาไลน์เอิร์ธ มีสีเทาเหมือนเหล็ก แข็งแรง น้ำหนักเบา แต่เปราะ ซึ่งส่วนใหญ่ใช้เป็นตัวที่ทำให้โลหะผสมแข็งขึ้น (โดยเฉพาะทองแดงเบริลเลียม)
การค้นพบ[แก้]
ผู้ค้นพบ ในปี ค.ศ. 1797 Vauquelin ได้พบว่าเบริลเลียมเป็นองค์ประกอบหนึ่งของแร่ beryl
ในปี ค.ศ. 1828 Wohler และ Bussy เตรียมธาตุนี้ได้โดยรีดิวส์ BeCl2 ด้วยโลหะ K แต่ Be ที่ได้นั้นเป็นผงทีไม่บริสุทธิ์นัก
ในปี ค.ศ. 1899 Lebrau นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสตีพิมพ์ผลงานการเตรียม Be โดยวิธีการแยกสลายด้วยไฟฟ้า (electrolysis) ของโซเดียม เบริลเลียม ฟลูออไรด์ ได้ผลึกเล็ก ๆ ของ Be มีรูปหกเหลี่ยม (hexagonal) นอกจากนี้แล้วเขายังเตรียมโลหะเจือของ Be-Cu ได้ด้วย เบริลเลียมในรูปของสารประกอบมีกระจายทั่วไปในเปลือกโลกของเรา เปลือกโลกของเรามี Be 0.001 %
การประยุกต์ใช้[แก้]
- ใช้ในหลอดไฟเรืองแสง
- สปริงนาฬิกาซึ่งต้องต่อต้านอำนาจแม่เหล็ก และรับแรงแปรอยู่ตลอดเวลานั้น ทำจากทองแดงผสมเบริลเลียม (Beryllium-Coppers Alloys)
- โลหะผสมนิกเกิล-เบริลเลียม (Ni-Be Alloys) แข็งมาก ทนการกัดกร่อนได้ดี ใช้ทำเครื่องมือผ่าตัด
- ใช้เป็นประโยชน์และวัตถุโครงสร้างของเท็คโนโลยีทางอวกาศ
- ใช้เป็นตัวโมเดอเรเตอร์ (moderator) และ reflector ในเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์
- ใช้ทำหน้าต่างพิเศษสำหรับหลอดรังสี -X
- โลหะเจือ Be-Cu ใช้เติมในเชื้อเพลิงจรวด
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
รายการอ้างอิง[แก้]
[1]
- ↑ https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet5/topic2/Be.html