อันดับของขนาด (อุณหภูมิ)
หน้าตา
ตัวคูณ | ผลคูณ | ค่า | วัตถุ |
---|---|---|---|
10-∞ | 0 K | ศูนย์องศาสัมบูรณ์ เป็นอุณหภูมิที่ทุกสิ่งทุกอย่างจะไม่เคลื่อนที่ | |
10−12 | 1 pK | 100 pK | เป็นอุณหภูมิที่ต่ำที่สุดที่ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีเฮลซังกิสามารถทำได้[1] |
450 pK | เป็นอุณหภูมิที่ต่ำที่สุดที่ของเหลวผลควบแน่นโบส-ไอน์สไตน์ของแก๊สโซเดียมเคยประสบความสำเร็จในห้องปฏิบัติการ[2] | ||
10−9 | 1 nK | 50 nK | เป็นจุดหลอมเหลวแฟร์มีของโพแทสเซียม-40 |
10−6 | 1 μK | เป็นอุณหภูมิของเครื่องทำความเย็นแม่เหล็กนิวเคลียร์ | |
10−3 | 1 mK | 1.7 mK | เป็นอุณหภูมิที่ถูกบันทึกไว้เป็นสถิติว่าตู้เย็นเจือจางฮีเลียม-3/ฮีเลียม-4 ทำได้ต่ำที่สุด |
2.5 mK | เป็นจุดหลอมเหลวแฟร์มีของฮีเลียม-3 | ||
60 mK | เป็นอุณหภูมิของเครื่องทำความเย็นแม่เหล็กของโมเลกุลพาราแมกนติก | ||
300 mK | เป็นอุณหภูมิเครื่องทำความเย็นแบบระเหยของฮีเลียม-3 | ||
700 mK | เป็นอุณหภูมิที่ฮีเลียม-3/ฮีเลียม-4 เริ่มการแยกสถานะ | ||
900 mK | จุดหลอมเหลวของฮีเลียม | ||
100 | 1 K | 1 K | เป็นอุณหภูมิของเนบิวลาบูมเมอแรง ซึ่งเป็นสิ่งแวดล้อมที่เย็นที่สุดเท่าที่เคยทราบ |
2.725 K | เป็นอุณหภูมิของรังสีพื้นหลังไมโครเวฟของจักรวาล | ||
4.1 K | เป็นอุณหภูมิของสภาพตัวนำยิ่งยวดของดาวพุธ | ||
4.22 K | เป็นจุดหลอมเหลวพันธะของฮีเลียม | ||
5.19 K | เป็นอุณหภูมิวิกฤตของฮีเลียม | ||
7.2 K | เป็นอุณหภูมิของสภาพตัวนำยิ่งยวดของตะกั่ว | ||
9.3 K | เป็นอุณหภูมิของสภาพตัวนำยิ่งยวดของไนโอเบียม | ||
101 | 10 K | 14.01 K | จุดหลอมเหลวของพันธะไฮโดรเจน |
20.28 K | จุดเดือดของพันธะไฮโดรเจน | ||
33 K | เป็นอุณหภูมิวิกฤตของไฮโดรเจน | ||
35 K | อุณหภูมิบนไทรทัน | ||
44 K | อุณหภูมิบนดาวพลูโต | ||
53 K | อุณหภูมิบนดาวยูเรนัส | ||
63 K | จุดหลอมเหลวของพันธะไนโตรเจน | ||
68 K | อุณหภูมิบนดาวเนปจูน | ||
77.35 K | จุดเดือดของพันธะไนโตรเจน | ||
90.19 K | จุดเดือดของพันธะออกซิเจน | ||
92 K | อุณหภูมิของสภาพตัวนำยิ่งยวดของ Y-Ba-Cu-ออกไซด์ | ||
102 | 100 K | 134 K | อุณหภูมิของสภาพตัวนำยิ่งยวดของ Y-Ba-Ca-Cu-ออกไซด์ |
143 K | อุณหภูมิบนดาวเสาร์ | ||
152 K | อุณหภูมิบนดาวพฤหัสบดี | ||
165 K | อุณหภูมิของการกลายสภาพคล้ายแก้วของน้ำเย็นยิ่งยวด | ||
183.75 K | อุณหภูมิที่ต่ำที่สุดบนโลก | ||
192 K | อุณหภูมิเดอบายของน้ำแข็ง | ||
205.2 K | เป็นอุณหภูมิของเมืองที่ต่ำที่สุดในโลก ที่เมืองเวอร์โคยันค์ส ประเทศรัสเซีย | ||
210 K | อุณหภูมิบนดาวอังคาร | ||
220 K | อุณหภูมิบนดวงจันทร์ | ||
271.6 K | เป็นอุณหภูมิที่ต่ำที่สุดในประเทศไทย ที่จ.สกลนคร[3] | ||
273.15 K | จุดหลอมเหลวของน้ำ | ||
273.16 K | จุดร่วมสามของน้ำ | ||
293 K | อุณหภูมิห้อง | ||
300 K | จุดหลอมเหลวของแฟรนเซียม | ||
301 K | จุดหลอมเหลวของซีเซียม | ||
304 K | จุดหลอมเหลวของเนย | ||
310 K | อุณหภูมิของร่างกายมนุษย์ | ||
312 K | จุดหลอมเหลวของรูบิเดียม | ||
103 | 1 kK | 1170 K | อุณหภูมิของการทำให้ไฟติดบนไม้ |
1560 K | จุดหลอมเหลวของเบริลเลียม | ||
1670 K | อุณหภูมิไฟของเทียนสีน้ำเงิน | ||
1811 K | จุดหลอมเหลวของเหล็ก | ||
1830 K | อุณหภูมิของไฟในตะเกียงบุนเซน | ||
2022 K | จุดเดือดของตะกั่ว | ||
2320 K | อุณหภูมิของไฟจากไฮโดรเจน | ||
2741 K | จุดเดือดของเบริลเลียม | ||
3459 K | จุดหลอมเหลวของรีเนียม | ||
3683 K | จุดหลอมเหลวของทังสเตน | ||
3900 K | จุดหลอมเหลวของโบห์เรียม | ||
4000 K | จุดหลอมเหลวของซีบอร์เกียม | ||
4160 K | จุดหลอมเหลวของฮาฟเนียมคาร์ไบด์ | ||
4800 K | จุดร่วมสามของคาร์บอน [4] | ||
5000 K | จุดหลอมเหลวของเพชร [5] | ||
5780 K | อุณหภูมิของดวงอาทิตย์ | ||
5869 K | จุดเดือดของรีเนียม | ||
5933 K | จุดเดือดของทังสเตน | ||
6000 K | อุณหภูมิของเอกภพหลังจากเกิดบิกแบง 300,000 ปี | ||
6200 K | จุดเดือดของโบห์เรียม | ||
6300 K | จุดเดือดของซีบอร์เกียม | ||
8801 K | อุณหภูมิวิกฤตของคาร์บอน | ||
104 | 10 kK | 10,000 K | อุณหภูมิของดาวซิริอุส เอ |
15,500 K | อุณหภูมิวิกฤตของทังสเตน | ||
16,400 K | อุณหภูมิวิกฤตของรีเนียม | ||
25,000 K | อุณหภูมิของเอกภพหลังจากเกิดบิกแบง 10,000 ปี | ||
37,000 K | อุณหภูมิของการหลอมโปรตอนและอิเล็กตรอน | ||
800,000 K | อุณหภูมิของลมสุริยะ | ||
106 | 1 MK | 1,000,000 K | อุณหภูมิของดาวนิวตรอนเก่า |
1,500,000 K | อุณหภูมิของชั้นบรรยาาศโคโรนา | ||
15,600,000 K | อุณหภูมิที่แกนของดวงอาทิตย์ | ||
20,000,000 K | อุณหภูมิของโนวา | ||
23,000,000 K | อุณหภูมิของอัตราการฟิวชันของเบริลเลียม-7 | ||
230,000,000 K | อุณหภูมิของอัตราการฟิวชันของคาร์บอน-12 | ||
750,000,000 K | อุณหภูมิของอัตราการฟิวชันของออกซิเจน | ||
109 | 1 GK | 1,000,000,000 K | อุณหภูมิของเอกภพหลังจากเกิดบิกแบง 100 วินาที |
1,500,000,000 K | อุณหภูมิของอัตราการฟิวชันของซิลิกอน | ||
3,000,000,000 K | อุณหภูมิของการหลอมอิเล็กตรอน-โพซิตรอน | ||
10,000,000,000 K | อุณหภูมิของซูเปอร์โนวา | ||
10,000,000,000 K | อุณหภูมิของเอกภพหลังจากเกิดบิกแบง 1 วินาที | ||
1012 | 1 TK | 1,000,000,000,000 K | อุณหภูมิของดาวนิวตรอนเกิดใหม่ |
1,200,000,000,000 K | จุดหลอมเหลวแฟร์มีของฮาดรอนเข้าสู่ควาร์ก-กลูออนพลาสมา | ||
4,000,000,000,000 K | อุณหภูมิของการหลอมโปรตอน-แอนติโปรตอน | ||
10,000,000,000,000 K | อุณหภูมิของเอกภพหลังจากเกิดบิกแบง 100 ไมโครวินาที | ||
10,000,000,000 K | อุณหภูมิของเอกภพหลังจากเกิดบิกแบง 1 วินาที | ||
1015 | 1 PK | 2,200,000,000,000,000 K | อุณหภูมิของการชนระหว่างโปรตอนกับแอนติโปรตอน |
2,800,000,000,000 K | อุณหภูมิของดาวอิเล็กโทรวีค | ||
1018 | 1 EK | 7,000,000,000,000,000,000 K | อุณหภูมิของการเปลี่ยนเป็นนิวเคลียร์หนักในเครื่องชนอนุภาคขนาดใหญ่ |
1021 | 1 ZK | 1,000,000,000,000,000,000,000 K | อุณหภูมิของสสารมืดที่นิวเคลียสดาราจักรกัมมันต์ |
1024 | 1 YK | 4,000,000,000,000,000,000,000,000 K | อุณหภูมิของลำแสงคอสมิกพลังงานสูงยิ่งยวด |
1027 | 103 YK | 1,000,000,000,000,000,000,000,000,000 K | อุณหภูมิของการกระตุ้นทฤษฎีการรวมแรงครั้งใหญ่ |
อุณหภูมิของเอกภพหลังจากเกิดบิกแบง 10−35 วินาที | |||
1032 | 108 YK | 142,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000 K | อุณหภูมิพลังก์ |
อุณหภูมิของเอกภพหลังจากเกิดบิกแบง 5 × 10−44 วินาที | |||
1033 | 109 YK | 1,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000 K | อุณหภูมิที่ใช้ในการกระตุ้นทฤษฎีแห่งสรรพสิ่ง |
อุณหภูมิของความอิสระในมิติขนาดใหญ่พิเศษ | |||
อุณหภูมิขั้วของแลนเดา |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "World record in low temperatures". สืบค้นเมื่อ 2009-05-05.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-04-02. สืบค้นเมื่อ 2013-09-28.
- ↑ ฝ่ายกรรมวิธีข้อมูล. สถิติภูมิอากาศของประเทศไทยในคาบ 30 ปี (พ.ศ. 2504-2533). รายงานข้อมูลอุตุนิยมวิทยาเลขที่ 551.582-02-2537, ISBN : 974-7554-80-1, กองภูมิอากาศ, กรมอุตุนิยมวิทยา, กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
- ↑ A. I. Savvatimscij, "Melting point of graphite and liquid carbon", Physics 46 (12) 1295–1303 (2003), Uspèxi Fizichèscix Nauc, Russian Academy of Sciences
- ↑ C. C. Yang and S. Li, "Size-Dependent Temperature-Pressure Phase Diagram of Carbon", J. Phys. Chem. C 112 (5), 1423–1426 (2008)