ทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย ช่วยในการเชื่อมต่อระหว่างกรุงมอสโก ไปยังเขตตะวันออกไกล

ทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย (TSR, รัสเซีย: Транссибирская магистраль, อักษรโรมัน: Transsibirskaya magistral, สัทอักษรสากล: [trənsʲsʲɪˈbʲirskəjə məgʲɪˈstralʲ]) เป็นสายรถไฟที่ยาวที่สุดในโลก ช่วยในการเชื่อมต่อระหว่างกรุงมอสโก ไปยังเขตตะวันออกไกลและทะเลญี่ปุ่น[1] มีสายย่อยเชื่อมต่อไปยังมองโกเลีย จีน และเกาหลีเหนือ ปัจจุบันเชื่อมต่อระหว่างกรุงมอสโกกับเมืองวลาดีวอสตอค ตั้งแต่ ค.ศ. 1916 และกำลังวางแผนสร้างส่วนต่อขยาย

การก่อสร้าง[แก้]

ทางรถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย เริ่มต้นการก่อสร้างเต็มเวลาอย่างเป็นทางใน ค.ศ. 1891 โดยมีเซย์เกย์ วิตต์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นผู้ควบคุมการสร้าง

ผลกระทบ[แก้]

รถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย สร้างผลประโยชน์ด้านบวกให้แก่เกษตรกรในไซบีเรีย เพื่ออำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าไปยังภาคกลางของรัสเซียและใจกลางยุโรปอย่างเป็นรูปธรรม เป็นการคมนาคมที่มีอิทธิพลมากในประเทศ เช่นเดียวกันกับการเดินเรือ

รถไฟสายทรานส์-ไซบีเรีย มีส่วนช่วยในการอพยพประชาชนจากภาคตะวันตกของรัสเซียและยูเครน[2] โดยในช่วงระหว่าง ค.ศ. 1906-1914 เป็นช่วงที่มีการอพยพสูงสุด โดยมีผู้โดยสารกว่า 4 ล้านคน อพยพเข้าไปในดินแดนไซบีเรีย[3]

เส้นทาง[แก้]

รถไฟส่วนใหญ่ จะจอดตามสถานีรายทางค่อนข้างน้อย เพื่อให้การเดินทางเร็วขึ้น อย่างไรก็ตาม การเดินทางต้องใช้เวลา 6-7 วันเป็นอย่างน้อย

เมืองสำคัญที่ทางรถไฟผ่านนั้น ได้แก่

เหรียญที่ระลึก[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Lonely Planet Guide to the Trans-Siberian Railway เก็บถาวร 2012-09-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Lonely Planet Publications, retrieved 2013.
  2. Subtelny, Orest (2000). "Ukraine: a history.". University of Toronto Press. p. 262. ISBN 0-8020-8390-0
  3. N. M. Dronin, E. G. Bellinger (2005). "Climate dependence and food problems in Russia, 1900–1990: the interaction of climate and agricultural policy and their effect on food problems". Central European University Press. p. 38. ISBN 963-7326-10-3

บรรณานุกรม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

แผนที่เส้นทาง:

KML is from Wikidata