รายชื่อบอยแบนด์ในประเทศเกาหลีใต้
บอยกรุปเคป็อป หมายถึงกลุ่มไอดอลชายล้วนของเกาหลีใต้ซึ่งมีสัดส่วนส่วนใหญ่ของอุตสาหกรรมเคป็อป บอยกรุปเกาหลีได้มีส่วนช่วยในการเผยแพร่และส่งเสริมวัฒนธรรมเกาหลีไปทั่วโลกผ่านการแสดงที่โดดเด่นและได้รับความนิยม กลุ่มแรกเริ่มช่วงปลายยุค 90 และต้นยุค 2000 เช่น เอช.โอ.ที,ชินฮวา และ จี.โอ.ดี เป็นกลุ่มที่สร้างรากฐานให้กับบอยกรุปชายล้วนที่ประสบความสำเร็จ และเป็นกลุ่มแรกที่สร้างฮันรยู เวฟ ในปี 2550 เริ่มเกิดรุ่นที่สองขึ้น เช่น บิกแบง,ทงบังชินกี,ซูเปอร์จูเนียร์,ทูพีเอ็ม,ชายนี,บีสต์ และ อินฟินิต ความนิยมของบอยกรุปเกาหลียังเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจนเกิดฮันรยู เวฟครั้งที่สอง และการเกิดขึ้นของบอยกรุป เช่น เอ็กโซ,บีทีเอส ในปี พ.ศ.2555 และ 2556 ที่เป็นการเปิดตัวรุ่นที่ 3และเปิดตัวต่อมวลมหาชนทั่วโลก โดยเฉพาะบีทีเอสที่ได้รับความนิยมจากฝั่งตะวันตกเป็นอย่างมาก สามารถครองอันดับหนึ่งในบิลบอร์ดชาร์ตและได้ร่วมงานศิลปินระดับโลก เช่น นิกกี มินาจ,โคลด์เพลย์ และ ฮาลซีย์ และวงอื่นๆที่ได้รับความนิยม ที่เปิดตัวในปี 2555 เป็นต้นไป เช่น เซเวนทีน,เอ็นซีที,วอนนาวัน,ทีบายที,สเตรย์คิดส์ และ เอนไฮเพน เป็นกลุ่มที่สร้างเสน่ห์ให้กับบอยกรุปเคป็อปและได้รับความนิยมอย่างกว้างขว้าง
รุ่นที่ 1 (พ.ศ. 2535–2545)[แก้]
ในช่วงต้นพ.ศ.2533 มีเพียงศิลปินเดี่ยวที่ทำเพลงแบบทรอต ต่อมาในพ.ศ. 2535 เพลงเกาหลีใต้เริ่มได้รับอิทธิพลจากเพลงแนวฮิปฮอป ด้วยการเดบิวต์ของซอแทจีแอนด์บอยส์ที่มีการเริ่มใช้ภาษาอังกฤษในเพลงของพวกเขา จนกระทั้งผู้ก่อตั้งเอสเอ็มเอนเตอร์เทนเมนต์ อี ซู-มัน ได้สร้างบอยกรุปเช่น เอช.โอ.ที และ ชินฮวา ที่สร้างกระแสฮันรยู บอยกรุปกลุ่มแรกๆเริ่มขึ้นหลังจากการเปิดตัวของเอช.โอ.ทีในปี พ.ศ. 2539 รวมถึงกลุ่มไอดอลที่เดบิวต์ในปีพ.ศ. 2540 ถึง ปีพ.ศ. 2545
ชื่อกลุ่ม | ระยะเวลา | สมาชิก/ยูนิตย่อย | เพลงที่ได้รับความนิยม | อัลบั้มที่ขายดีที่สุด |
---|---|---|---|---|
เอช.โอ.ที | 2539-2544,
2562-2563 |
|
|
We Hate All Kinds of Violence (2539) |
เชคส์กีส์ | 2540-2543,
2559-ปัจจุบัน |
เจ-วอล์ค |
|
School Anthem (2540) |
ชินฮวา | 2541-ปัจจุบัน |
Shinhwa WDJ |
|
Hey,Come On!(2544 สตูดิโอ อัลบั้ม) |
จี.โอ.ดี. | 2542-2548,
2557-ปัจจุบัน |
|
|
Chapter 3 (2543) |
บอยกรุปอื่นๆ[แก้]
- วันไทม์ (ปี 2541-2549,2551)
- ไฟว์ชัน (ปี 2544-ปัจจุบัน)
- แบล็กบีทต์(2545–2550)
- คลิก-บี (ปี 2542-2548,2554,2558)
- เดอซ์(2536–2538)
- ดีเจ ดีโอซี(ตั้งแต่ปี 2537)
- เอวรี ซิงเกิล เดย์(ตั้งแต่ปี 2537)
- ฟลาวเวอร์ (2542–2549, ตั้งแต่ปี 2553)
- เอฟ-ไอวี (ปี 2545-ปัจจุบัน)
- ฟลายทูเดอะสกาย (ปี 2542-2552,2557-ปัจจุบัน)
- จีนูณอห์น (ปี 2540-2547,2558-2563)
- เจทีแอล(ปี 2544–2546)
- เค'ป็อป(2544–2546,ตั้งแต่ปี 2561)
- โนเอล(2545–2549, ตั้งแต่ปี 2554)
- เอ็นอาร์จี (ปี 2540-2548,2560-2561)
- สวีท ซอร์โรล(ตั้งแต่ปี 2545)
- เดอะ บลู(ปี 2533, 2552, 2557)
- ยู-บิส(ปี 2540–2543)
- ยูเอ็น (ปี 2543-2548)
- ยูริซังจา(ตั้งแต่ปี 2540)
รุ่นที่ 2 (พ.ศ. 2546–2554)[แก้]
ในขณะที่บอยกรุปรุ่นแรกเริ่มยุบวงไปในช่วงต้นปีพ.ศ. 2543 เพลงแนวบัลลาดและอาร์แอนด์บีเริ่มกลับมาได้รับความนิยมอีกครั้ง ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2546 ศิลปินที่โด่งดัง เช่น เอสจี วอนนาบี,ฮวีซอง และบัซ
ชื่อกลุ่ม | ระยะเวลา | สมาชิก | อดีตสมาชิก | ยูนิตย่อย | ซิงเกิลเดบิวต์ | ซิงเกิลที่ทำให้มีชื่อเสียง | ซิงเกิลที่ขายดีที่สุด | อัลบั้มที่ขายดีที่สุดในเกาหลี |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ทงบังชินกี | 2546-ปัจจุบัน | "Hug" (2547) | "Hug" (2547) |
|
Mirotic (2551) | |||
ซูเปอร์จูเนียร์ | 2548-ปัจจุบัน | "Twins (Knock Out) (2548) | "U" (2549) |
|
Mr.Simple (2554) | |||
ดับเบิลเอส 501 | 2548-2553 |
|
ดับเบิลเอส 301 | "Warning" (2548) | "Never Again" (2548) |
|
Rebirth (2552) | |
บิกแบง | 2549-ปัจจุบัน |
|
"We Be Long Together" (2549) | "Lies" (2550) |
|
Remember (2551) | ||
เอฟ.ที. ไอส์แลนด์ | 2550-ปัจจุบัน |
|
เอฟ.ที. ทริปเปิล | "Lovesick" (2550) | "Lovesick" (2550) |
|
Cheerful Sensibility (2550) | |
ทูเอเอ็ม | 2551-2557,
2564-ปัจจุบัน |
"This Song" (2551) | "Can't Let You Go Even If I Die" (2553) |
"I Wonder If You Hurt Like Me" (2555)
|
Saint o'Clock (2553) | |||
ทูพีเอ็ม | 2551-2560,
2564-ปัจจุบัน |
แจบอม | "10 Out of 10" (2551) | "Again & Again" (2552) |
|
Must (2564)[1] | ||
ชายนี | 2551-ปัจจุบัน | จงฮยอน | "Replay" (2551) | "Replay" (2551) |
|
Don't Call Me (2564) | ||
บีสต์/ไฮไลต์ | 2552-ปัจจุบัน | "Bad Girl" (2552) | "Mystery" (2552) |
|
Fiction and Fact (2554) | |||
เอ็มแบล็ก | 2552-2558(หยุดชะงัก) |
|
"Ah Yeah" (2552) | "Y" (2553) |
|
BLAQ Style (2554) | ||
ซีเอ็นบลู | 2552-ปัจจุบัน |
|
"I'm a Loner" (2553) | "I'm a Loner" (2553) |
"Can't Stop" (2557) |
First Step (2554) | ||
อินฟินิต | 2553-ปัจจุบัน | โฮยา |
|
"Come Back Again" (2553) | "Nothing's Over" (2554) |
|
New Challenge (2556) | |
ทีนท็อป | 2553-ปัจจุบัน |
|
แอลโจ | "Clap" (2553) | "No More Perfume On You" (2554) |
|
No. 1 (2556) | |
บีวันเอโฟร์ | 2554-ปัจจุบัน |
|
|
"O.K" (2554) | "Beautiful Target" (2554) |
|
Who Am I (2557) | |
บล็อกบี | 2554-ปัจจุบัน |
|
|
"Freeze!" (2554) | "NalinA" (2555) |
|
Blockbuster (2555) | |
ตัวหนา = ซิงเกิลที่ขายได้มากที่สุด |
บอยกรุปอื่นๆ[แก้]
- ดับเบิลเอ (ตั้งแต่ปี 2554–2558)
- เอพีส(ปี 2554–2563)
- แบทเทิล(ปี 2549–2553, ตั้งแต่ปี 2562)
- บอยเฟรนด์ (ปี 2554-2562,2564)
- ดีเอ็มทีเอ็น (ปี 2552-2556,2563)
- โฟกัส (ปี 2553-ปัจจุบัน)
- เจ-วอค(ตั้งแต่ปี 2550)
- แอลซีไนน์(ปี 2556-2558)
- เลดแอปเปิล(ปี 2553-2559)
- มันเดย์ คิซ(ปี 2548-2551, 2553–2557)
- มายเนม (ปี 2554-ปัจจุบัน)
- เอ็น-โซนิก (ปี 2554-2559)
- เอ็น-เทรนด์(ปี 2554-2556)
- วันเวย์(ปี 2553-2559)
- พารัน(ปี 2548-2554)
- เอส(ปี 2546,2557)
- ชู-ไอ(ปี 2552-2558)
- ซูเปอร์โนวา (ปี 2550-ปัจจุบัน)
- ที-แมกซ์(ปี 2550–2555)
- ทัช(ตั้งแต่ปี 2553)[A]
- ทริท็อปซ์(ตั้งแต่ปี 2550)
- ยู-คิส (ปี 2551-ปัจจุบัน)
- อูลาลา เซซชัน(ตั้งแต่ปี 2554)
- วี.โอ.เอส (ปี 2547-ปัจจุบัน)
- ไวบ์(ตั้งแต่ปี 2545)
- ว็อนเต็ด(ปี 2547–2555)
- ชิลเดรนออฟเอมไพร์ (ปี 2553-2560)
รุ่นที่ 3 (พ.ศ. 2555–กลางปี 2560)[แก้]
เคป็อปเริ่มได้รับการฟื้นฟูในรุ่นที่ 3 ที่เติบโตในยุคดิจิทัลและกระแสสังคมและโลกาวิวัฒน์ ในยุคนี้รายการเซอร์ไวเวิลเริ่มได้รับความนิยมและมีการแข่งขันเพิ่มมากขี้น รวมถึงบอยกรุปที่เดบิวต์ในช่วงปี พ.ศ. 2555 ถึงกลางปีพ.ศ. 2560 ด้วยเช่นกัน
ชื่อกลุ่ม | ระยะเวลา | สมาชิก | อดีตสมาชิก | ยูนิตย่อย | ซิงเกิลเดบิวต์ | ซิงเกิลที่ทำให้มีชื่อเสียง | ซิงเกิลที่ขายดีที่สุด | อัลบั้มที่ขายดีที่สุดในเกาหลี |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
บี.เอ.พี | 2555-2562 |
|
"Warior" (2555) | "Warior" (2555) |
|
First Sensibility (2014)[2] | ||
บีทูบี | 2555-ปัจจุบัน | อิลฮุน |
|
"Insene" (2555) | Beep Beep (2557) |
|
Be Together (2565) | |
เอ็กโซ | 2555-ปัจจุบัน |
|
"Mama" (2555) | "Wolf" (2555) |
|
Don't Fight the Feeling (2564) | ||
วิกซ์ | 2555-ปัจจุบัน |
|
ฮงบิน | วิกซ์ แอลอาร์ | "Super Hero" (2555) | "On and On" (2556" |
|
Chained Up(2558) |
นิวอิสต์ | 2555-2565 |
|
"Face" (2555) | "Bet Bet" (2562) |
|
Happily Ever After (2562) | ||
บีทีเอส | 2556-ปัจจุบัน | "No More Dream" (2556) | "I Need U" (2558) |
|
Map of The Soul:7 (2563) | |||
วินเนอร์ | 2556-ปัจจุบัน |
|
แทฮยอน | "Empty" (2557) | "Empty" (2557) |
|
Everyday (2561) | |
ก็อตเซเวน | 2557-ปัจจุบัน | "Girls,Girls,Girls" (2557) | "A" (2557) |
|
Got7 (2565) | |||
ไอคอน | 2558-ปัจจุบัน | บีไอ | "My Type" (2558) | "My Type" (2558) |
|
Welcome Back (2558) | ||
มอนสตาเอ็กซ์ | 2558-ปัจจุบัน | วอนโฮ | "Trespass" (2558) | "Hero" (2558) |
|
No Limit (2564) | ||
เซเวนทีน | 2558-ปัจจุบัน |
|
"Adore U" (2558) | "Mansae" (2558) |
|
FML (2566) | ||
อัสโตร | 2559-ปัจจุบัน |
|
"Hide and Seek" (2559) | "All Night" (2562) |
|
All Yours (2564) | ||
เอ็นซีที | 2559-ปัจจุบัน |
|
|
"The 7th Sense" (2559) (เอ็นซีทียู) | "Cherry Bomb" (2560) (เอ็นซีที 127) |
|
Sticker (2564)[3] (เอ็นซีที 127) | |
วอนนาวัน | 2560-2562 | "Energetic" (2560) | "Energetic" (2560) |
|
1x1=1 (To Be One) (2560) | |||
ตัวหนา = ซิงเกิลที่ขายได้มากที่สุด |
บอยกรุปอื่นๆ[แก้]
- วันโฟร์ยู (ปี 2560-2562)
- แพ็คเปอร์เซ็นต์ (ปี 2555-2564)
- อีช็อนวอน (ตั้งแต่ปี 2556)
- ทูโฟร์เค (ปี 2555-ปัจจุบัน)
- เซอร์ไพรส์ (ปี 2556–2563)
- เอ.ซี.อี (ปี 2560-ปัจจุบัน)
- เอ.เซียน (ปี 2555-2563)
- เอ-แจ็กซ์ (ปี 2555-2562)
- เอ-พรินซ์ (ปี 2555-2558)
- อัลฟาแบต (ตั้งแต่ปี 2556)
- บี.ไอ.จี (ปี 2557-ปัจจุบัน)
- บีทวิน (ปี 2557–2560)
- บิ๊กเบรน (ตั้งแต่ปี 2558)
- บิ๊กสตาร์ (ปี 2555-2562)
- บิกโฟล (ปี 2557-ปัจจุบัน)
- บอยส์ 24(ปี 2559–2560)
- บอยส์รีพับลิก (ปี 2556-2561)
- ซี-คลาวน์ (ปี 2555-2558)
- ครอสยีน (ปี 2555-ปัจจุบัน)
- เดย์ซิกซ์ (ปี 2558-ปัจจุบัน)
- โกลเดนไชลด์ (ปี 2560-ปัจจุบัน)
- เกรทกายส์ (ปี 2560-ปัจจุบัน)
- เฮโล (ปี 2557-2562)
- ฮาร์ตบี (ปี2557–2558)
- ไฮท์โฟร์(ปี 2557–2560)
- ฮิสทรี (ปี 2555-2560)
- เอชเอ็นบี (ปี2560–2562)
- ฮันนี จี(ตั้งแต่ปี 2555)
- ฮันนีสต์ (ปี 2560–2562)
- ฮูนิ ยองกี(ตั้งแต่ปี 2554)
- ฮอตช็อต (ปี 2557-2564)
- ฮยองซ็อบเอ็กซ์อึยอุง (ปี 2560-2561)
- อิมแฟกต์ (ปี 2559-ปัจจุบัน)
- อินทูอิต (ปี 2560-2563)
- อายส์ (ตั้งแต่ปี 2560)
- เจบีเจ (ปี 2560-2561)
- เจเจซีซี (ปี 2557-ปัจจุบัน)
- เค-มัช (ปี 2557-2561)
- คือนาคึน (ปี 2559-ปัจจุบัน)
- หลงกั๋วแอนด์ชีฮยอน (ปี 2560–2561)
- ลูนาฟลาย(ปี 2555–2559)
- เอ็ม.ไพร์ (ปี 2556–2558)
- เอ็มโฟเอ็ม (ปี 2556-2557, ตั้งแต่ปี 2561)
- แมสก์ (ปี 2559-2563)
- เอ็มเอพีซิกซ์ (ปี 2558-2562)
- เอ็ม.โอ.เอ็น.ที(ตั้งแต่ปี 2560)
- มิสเตอร์.มิสเตอร์ (ปี 2555-2564)
- เอ็มวีพี (ปี 2560-ปัจจุบัน)
- เอ็มเอ็กซ์เอ็ม (ปี 2560-2561)
- มายทีน (ปี 2560-2562)
- เอ็น.ฟลายอิง (ปี 2556-ปัจจุบัน)
- นิวคิดด์ (ตั้งแต่ปี 2560)
- ออนแอนด์ออฟ (ปี 2560-ปัจจุบัน)
- เพนตากอน (ปี 2559-ปัจจุบัน)
- เรนซ์ (ปี 2560-2561)
- โรมีโอ (ปี 2558-2563)
- เซเวนโอคล็อก (ปี 2560-2564)
- เอสเอฟไนน์ (ปี 2559-ปัจจุบัน)
- สปีด (ปี 2555-2559)
- เทสตี (ปี 2555-2558)
- เดอะเลเจนด์ (ปี 2557-2560)
- เดอะโรส (ปี 2560-ปัจจุบัน)
- ทูฮาร์ต (ปี 2557)
- ท็อปด็อก (ปี 2556-2564)
- ทีอาร์ซีเอ็นจี (ปี 2560-2565)
- ทรอย(ตั้งแต่ปี 2557)
- ทีเอสที (ปี 2560-2563)
- อัปเทนชัน (ปี 2558-ปัจจุบัน)
- ยูนิก (ปี 2557-พักงานไม่มีกำหนด)
- ยูเอ็นวีเอส (ตั้งแต่ปี 2559)
- วาร์ซิตี (ปี 2560-ปัจจุบัน)
- วีเอวี (ปี 2558-ปัจจุบัน)
- วิกทัน (ปี 2559-ปัจจุบัน)
- วอยส์เปอร์(ปี 2559-2564)
- โวรแมนซ์(ตั้งแต่ปี 2559)
- วันเดอร์ บอยซ์(ปี 2555-2557)
- ท็อปด็อก(ปี 2556-2564)
รุ่นที่ 4 (ปลายปีพ.ศ. 2560-ปัจจุบัน)[แก้]
ในรุ่นนี้ต้องเผชิญหน้ากับปัญหาหลายอย่าง เช่น โรคระบาดโควิด-19 ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ และการจัดทำคอนเสิร์ตเสมือนจริงแทน และในรุ่นนี้ก็เป็นการบุกเบิกการประชาสัมพันธ์ที่หลายหลายขึ้นโดยเฉพาะช่องทางออนไลน์ที่มีการเคลื่อนไหวมากที่สุด[4]
ชื่อกลุ่ม | ระยะเวลา | สมาชิก | อดีตสมาชิก | ยูนิตย่อย | ซิงเกิลเดบิวต์ | ซิงเกิลที่ทำให้มีชื่อเสียง | ซิงเกิลที่ขายดีที่สุด | อัลบั้มที่ขายดีที่สุดในเกาหลี |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เดอะบอยซ์ | 2560-ปัจจุบัน
L |
|
ฮวัล | "Boy" (2560) | "No Air" (2561) |
|
Thrill-ing (2564) | |
สเตรย์คิดส์ | 2561-ปัจจุบัน |
|
อูจิน | 3ราชา | "District 9" (2561) | "My Pace" (2561) |
|
Oddinary (2565) |
เอทีซ | 2561-ปัจจุบัน |
|
"Pirate King" (2561) | "Say My Name" (2562) |
|
The World EP.2 : Outlaw (2566) | ||
ทูมอโรวบายทูเก็ตเทอร์ | 2562-ปัจจุบัน |
|
"Crown" (2562) | "Crown" (2562) |
"Good Boy Gone Bad" (2565) |
Minisode 2:Thurday's Child (2565) | ||
เทรเชอร์ | 2562-ปัจจุบัน |
|
"Boy" (2562) | "Jikjin" (2565) |
|
The Second Step:Chapter One (2565) | ||
เอนไฮเพน | 2563-ปัจจุบัน |
|
"Given-Taken (2563) | "Fever" (2564) |
|
Dimension:Dilemma (2564) |
บอยกรุปอื่น ๆ[แก้]
- วันทีม (ปี 2561-2564)
- วันเดอะไนน์ (ปี 2562-2563)
- 8เทิร์น (ตั้งแต่ปี 2566)
- เอบีซิกซ์ (ปี 2562-ปัจจุบัน)
- อาร์กอน (ปี 2562–2564)
- เอทีบีโอ (ปี 2565-ปัจจุบัน)
- บีเออี173 (ตั้งแต่ปี 2563)
- บีดีซี (ตั้งแต่ปี 2562)
- แบลงทูวาย (ปี 2565-ปัจจุบัน)
- บลิตเซอส์ (ปี 2565-ปัจจุบัน)
- ไซเฟอร์ (ตั้งแต่ปี 2564)
- ซีไอเอ็กซ์ (ตั้งแต่ปี 2562)
- คราวิตี (ตั้งแต่ปี 2563)
- ดี-ครันช์ (ปี 2561-ปัจจุบัน)
- ไดซ์ (ปี 2562-ปัจจุบัน)
- ดีเคบี (ปี 2563-ปัจจุบัน)
- ดีเคซี (ปี 2561-ปัจจุบัน)
- ดริปปิน (ปี 2563-ปัจจุบัน)
- เอลลาส (ปี 2563-ปัจจุบัน)
- อีเอ็นโอไอ (ปี 2562-2564)
- อีเพกซ์ (ปี 2564-ปัจจุบัน)
- โกสต์ไนน์ (ปี 2563-ปัจจุบัน)
- เอชแอนด์ดี (ตั้งแต่ 2020)
- จัสต์บี (ปี 2564-ปัจจุบัน)
- คิงดัม (ปี 2564-ปัจจุบัน)
- ลูมินัส (ตั้งแต่ 2021)
- เอ็มซีเอ็นดี (ปี 2563-ปัจจุบัน)
- มีแร (ปี 2564-ปัจจุบัน)
- นัวร์ (ปี 2561-ปัจจุบัน)
- เอ็นทีบี (2018–2021)
- เอ็นทีเอ็กซ์ (ปี 2563-ปัจจุบัน)
- โอเมกาเอ็กซ์ (ปี 2563-ปัจจุบัน)
- วันอัส (ปี 2561-ปัจจุบัน)
- วันวี (ปี 2562-ปัจจุบัน)
- โอนลีวันออฟ (ปี 2562-ปัจจุบัน)
- พีวอนฮาโมนี (ปี 2563-ปัจจุบัน)
- ซูเปอร์เอ็ม (ปี 2562-ปัจจุบัน)
- แทน (ปี 2565-ปัจจุบัน)
- ทาร์เก็ต (ปี 2561-ปัจจุบัน)
- เทมเพสต์ (ปี 2565-ปัจจุบัน)
- ทีเอฟเอ็น (ปี 2564-ปัจจุบัน)
- เดอะวินด์ (ปี 2566-ปัจจุบัน)
- ทีเอ็นเอ็กซ์ (ปี 2564-ปัจจุบัน)
- ทีโอวัน (ปี 2563-ปัจจุบัน)
- เทรนซ์ (ปี 2565-ปัจจุบัน)
- แวนเนอร์ (ปี 2562-ปัจจุบัน)
- เวริเวรี (ปี 2561-ปัจจุบัน)
- ดับเบิลยูทูโฟร์ (ปี 2561-ปัจจุบัน)
- วีอินเดอะโซน (ปี 2562–2564)
- วีไอ (ปี 2563-ปัจจุบัน)
- เอ็กซ์วัน (ปี 2562-2563)
- ไซเกอส์ (ปี 2566-ปัจจุบัน)
- ยูไนต์ (ปี 2565-ปัจจุบัน)
- ซีโรเบสวัน (ปี 2566-ปัจจุบัน)
ดูเพิ่ม[แก้]
หมายเหตุ[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "국내 대표 음악 차트 가온차트!". gaonchart.co.kr (ภาษาเกาหลี).
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "Gaon Chart". 2014-07-14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-10-04. สืบค้นเมื่อ 2014-07-14.
- ↑ "2021년 Album Chart". gaonchart.co.kr.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "BTS·블핑에 도전장… '4세대 아이돌'이 온다". www.munhwa.com.
อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref>
สำหรับกลุ่มชื่อ "upper-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="upper-alpha"/>
ที่สอดคล้องกัน หรือไม่มีการปิด </ref>