วายจีพลัส
![]() โลโก้ที่ใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2014 | |
ชื่อท้องถิ่น | YG 플러스 |
---|---|
ชื่อเดิม | บริษัทฟินิกซ์โฮลดิงส์ |
ประเภท | มหาชน |
การซื้อขาย | KRX: 037270 |
อุตสาหกรรม | |
ก่อตั้ง | 15 พฤศจิกายน 1996 |
สำนักงานใหญ่ | , |
บุคลากรหลัก | ชเว ซ็อง-จุน (CEO) ยัง มิน-ซ็อก (ประธานคณะกรรมการบริษัท) |
ผลิตภัณฑ์ | |
รายได้ | |
รายได้จากการดำเนินงาน | |
รายได้สุทธิ | |
สินทรัพย์ | |
เจ้าของ |
|
บริษัทแม่ | วายจีเอนเตอร์เทนเมนต์ |
บริษัทในเครือ | ดู รายชื่อ |
เว็บไซต์ | ygplus |
เชิงอรรถ / อ้างอิง [1][2][3] |
บริษัทวายจีพลัส (เดิมชื่อบริษัทฟินิกซ์โฮลดิงส์) เป็นบริษัทสื่อและโฆษณาที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งวายจีเอนเตอร์เทนเมนต์เข้าซื้อกิจการในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2014 บริษัทได้เข้าสู่อุตสาหกรรมจัดจำหน่ายเพลง และยังมีส่วนร่วมในการผลิต การจัดจำหน่าย และใบอนุญาตของสินค้าที่เกี่ยวข้องกับเพลงของศิลปิน ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2021 ไฮบ์คอร์ปอเรชันและวีเวิร์สคอมพานี บริษัทในเครือด้านเทคโนโลยี เข้าซื้อกิจการ 17.9% ของบริษัทในการขายสินค้าและการจัดจำหน่าย ข้อตกลงคือให้ศิลปินของวายจีเอนเตอร์เทนเมนต์เข้าร่วมวีเวิร์สเป็นการตอบแทน
ประวัติ[แก้]
วายจีเอนเตอร์เทนเมนต์เข้าซื้อกิจการฟินิกซ์โฮลดิงส์ ซึ่งเป็นบริษัทประชาสัมพันธ์จาก Bongwan Group ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2014 และเปลี่ยนชื่อเป็นวายจีพลัส[4][5] ยัง มิน-ซ็อก น้องชายของยัง ฮย็อน-ซ็อก ผู้ก่อตั้งวายจีเอนเตอร์เทนเมนต์ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น CEO ของบริษัท โดยวายจีเอนเตอร์เทนเมนต์ถือหุ้น 38.6% ของบริษัท[6] ในปี ค.ศ. 2019 บริษัทได้เข้าสู่อุตสาหกรรมการจัดจำหน่ายเพลง ต่อมาวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 2021 มีการเปิดเผยว่าไฮบ์คอร์ปอเรชันและวีเวิร์สคอมพานี บริษัทในเครือด้านเทคโนโลยี (เดิมคือ beNX) ลงทุน 70 พันล้านวอน (ประมาณ 63 ล้านเหรียญสหรัฐ) ในบริษัท[7] เข้าซื้อกิจการ 17.9% ของบริษัทในการขายสินค้าและการจัดจำหน่าย ข้อตกลงคือให้ศิลปินของวายจีเอนเตอร์เทนเมนต์เข้าร่วมวีเวิร์สเป็นการตอบแทน[8] ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2021 ชเว ซ็อง-จุนได้รับการแต่งตั้งให้เป็นซีอีโอคนใหม่ ในขณะที่ยัง มิน-ซ็อกได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการบริหารของบริษัท[9]
ค่ายผู้จำจัดหน่าย[แก้]
ปัจจุบัน[แก้]
เกาหลีใต้ (ณ ปี ค.ศ. 2021)
- วายจีเอนเตอร์เทนเมนต์
- ไฮบ์คอร์ปอเรชัน
- ADOR
- บิกฮิตมิวสิก
- เคโอซีเอนเตอร์เทนเมนต์
- เพลดิสเอนเตอร์เทนเมนต์
- ซอร์ซมิวสิก
- เจทีบีซี (เลือกวางจำหน่ายเท่านั้น)
- แพ็กทอรีคอมพานี
- 1dow (1day of the week) Records Label
- 3YE GLOBAL
- เอตตีทูแอตติจูด
- อะเบาต์เอนเตอร์เทนเมนต์
- แอนด์นิว
- อารา-ไลน์เอนเตอร์เทนเมนต์
- อาร์ไคฟ์มอร์นิง
- อาร์ตบัสคอมพานี
- บลูทัง
- บูทีกเคเอ็ม
- ช็องชุนมิวสิก
- CRAFT AND JUN
- dnss
- โดฟิน
- ไดนาสตีมิวสิค
- อีเอ็มเอเรเคิดดิงส์
- เอฟเอพรีเซนต์
- จีเอฟเอ็มเอ
- โฮมมิวสิก
- Im Dai
- Jule
- LLANO
- MOAI
- NEOKIDZ
- Niahn
- NU DIMENSION
- SALON 01
- TNK ENT
- ตีรามีซูเรเคิดส์
- อูบุนตูเอนเตอร์เทนเมนต์
- ไวรัลคิต
- WEEKDAY
- WHAP.
- เวิลด์สตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์
- ยัวร์ซัมเมอร์
อดีต[แก้]
- HYPLE (ย้ายไปเอ็นเอชเอ็นบักส์)
บริษัทย่อย[แก้]
- YG KPLUS
- Moonshot
- Nona9on
- YG Sports
- YG Studioplex
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "YG PLUS - Company Profile and News - Bloomberg Markets". สืบค้นเมื่อ August 17, 2021 – โดยทาง Bloomberg L.P.
- ↑ "Financials - YG PLUS". YG Plus. August 11, 2021.
- ↑ "YG Plus Ownership Structure". YG Plus.
- ↑ Cha, Jun-ho (July 29, 2021). "Lessons learned from Blackpink label's M&A flops". Korea Economic Daily. สืบค้นเมื่อ August 17, 2021.
- ↑ Yoo, Yoon-Jeong. "보광, 실적 악화일로…홍석규 회장, 계열사 지분 잇따라 처분". Chosun Biz (ภาษาเกาหลี). สืบค้นเมื่อ August 17, 2021 – โดยทาง Naver.
- ↑ "Min-Suk Yang, YG Entertainment Inc: Profile and Biography". สืบค้นเมื่อ August 17, 2021 – โดยทาง Bloomberg L.P.
- ↑ Hwang, Hye-jin (January 27, 2021). "빅히트 측 "YG에 700억 규모 투자 단행, 음반음원 유통 사업 협업"(공식)". Newsen (ภาษาเกาหลี). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 16, 2021. สืบค้นเมื่อ April 9, 2021.
- ↑ Alexei Barrionuevo (January 28, 2021). "BTS' Label Big Hit Entertainment Buys Stake in K-Pop Rival YG Entertainment". Microsoft News (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 9, 2021. สืบค้นเมื่อ June 9, 2021.
- ↑ "Sung-Jun Choi, YG Plus: Profile and Biography - Bloomberg Markets". สืบค้นเมื่อ August 17, 2021 – โดยทาง Bloomberg L.P.