ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชิวหา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
| lbl3 =
| lbl3 =
| data3 =
| data3 =
| info-hdr =
| info-hdr =
| noinfo =
| noinfo =
| fullname =
| fullname =
| nickname =
| nickname =
บรรทัด 44: บรรทัด 44:
| data32 =
| data32 =
| lbl33 =
| lbl33 =
| data33 =
| data33 =
}}
}}
[[ไฟล์:Ramakien Tosakan.jpg|thumb|150px|จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] ห้อง 21 ตอน ทศกัณฐ์ประพาสป่าให้ชิวหาน้องเขยรักษาเมือง]]
[[ไฟล์:Ramakien Tosakan.jpg|thumb|150px|จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] ห้อง 21 ตอน ทศกัณฐ์ประพาสป่าให้ชิวหาน้องเขยรักษาเมือง]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:55, 14 กรกฎาคม 2558

ชิวหา
ตัวละครใน รามเกียรติ์
ไฟล์:Chewha.jpg
หัวโขนชิวหา
ข้อมูลตัวละครในเรื่อง
เผ่าพันธุ์ยักษ์
เพศผู้
คู่สมรสนางสำมนักขา
บุตรกุมภกาศ และอดูล
สีกายหงเสน
ไฟล์:Ramakien Tosakan.jpg
จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ห้อง 21 ตอน ทศกัณฐ์ประพาสป่าให้ชิวหาน้องเขยรักษาเมือง

ชิวหา เป็นตัวละครในวรรณกรรมเรื่องรามเกียรติ์ เป็นน้องเขยของทศกัณฐ์ สามีของนางสำมนักขา มีลักษณะกายสีหงเสน ยอดน้ำเต้ากลม ตาจระเข้ ปากแสยะ แลบลิ้น เมื่อครั้งนั้น ทศกัณฐ์ไปประพาสป่า จึงให้น้องเขยเฝ้าเมืองไว้ ฝ่ายชิวหา เมื่อได้รับหน้าที่ก็ทำหน้าที่อย่างดี

ชิวหา เป็นยักษ์ที่มีฤทธิ์เดช คือมีลิ้นที่ยาวและใหญ่ สามารถใช้ในการศึกได้ เมื่อชิวหาได้รับหน้าที่มา ก็จัดยามตามไฟรักษาเมืองไม่ได้หลับไม่ได้นอน จนวันที่ 7 ชิวหา ก็ทนความง่วงไม่ไหว จึงเนรมิตกายให้ใหญ่โต แล้วแลบลิ้นไปปิดเมืองลงกาไว้ แล้วหลับไป ฝ่ายทศกัณฐ์ เมื่อกลับมาจากประพาสป่า มองไม่เห็นเมืองลงกา ก็เข้าใจว่าศัตรูได้ทำอุบายบดบังเมืองไว้ ด้วยความโกรธ จึงขว้างจักร อาวุธของตนไปตัดลิ้นชิวหาทันที

ชิวหาถูกตัดลิ้นขาดไปก็สิ้นใจลง นางสำมนักขาเสียใจมาก จึงไปเที่ยวป่าแล้วเจอกับพระราม จนเป็นปฐมเหตุของสงครามครั้งนี้ในที่สุด