ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระมหาธรรมราชาที่ 4"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Linuxloverwikip (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
== พระราชประวัติ ==
== พระราชประวัติ ==
{{พระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์พระร่วง}}
{{พระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์พระร่วง}}
okboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomer
พระยาบาลเมืองเป็นพระราชโอรสใน[[พระมหาธรรมราชา]]กับ[[แม่นางษาขา]] มีพระเชษฐภคินีพระองค์หนึ่งเป็น[[พระราชเทวีในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2]]<ref name="ยอกย้อน"/>


[[พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)]] ระบุว่าเมื่อ[[พระมหาธรรมราชาที่ 3|พระมหาธรรมราชาธิราชเจ้าเมืองพิษณุโลก]]สวรรคตในปี พ.ศ. 1962 [[หัวเมืองเหนือ]]เกิดจลาจลเพราะพระยาบาลเมืองและ[[พระยารามแห่งสุโขทัย]]แย่งชิงอำนาจกัน [[สมเด็จพระอินทราชา]]แห่งกรุงศรีอยุธยาจึงเสด็จมาเมืองพระบาง (นครสวรรค์) ทั้งพระยาบาลเมืองและพระยารามทรงทราบก็เสด็จออกมาถวายบังคม เมื่อสมเด็จพระอินทราชาเสด็จกลับกรุงศรีอยุธยาแล้วจึงโปรดให้[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2|เจ้าสามพระยา]]มาครองกรุงพิษณุโลก<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 50</ref>
[[พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)]] ระบุว่าเมื่อ[[พระมหาธรรมราชาที่ 3|พระมหาธรรมราชาธิราชเจ้าเมืองพิษณุโลก]]สวรรคตในปี พ.ศ. 1962 [[หัวเมืองเหนือ]]เกิดจลาจลเพราะพระยาบาลเมืองและ[[พระยารามแห่งสุโขทัย]]แย่งชิงอำนาจกัน [[สมเด็จพระอินทราชา]]แห่งกรุงศรีอยุธยาจึงเสด็จมาเมืองพระบาง (นครสวรรค์) ทั้งพระยาบาลเมืองและพระยารามทรงทราบก็เสด็จออกมาถวายบังคม เมื่อสมเด็จพระอินทราชาเสด็จกลับกรุงศรีอยุธยาแล้วจึงโปรดให้พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับปลีก หมายเลข 2/ก 104 ระบุว่าเมื่อเจ้าสามพระยาได้ครองราชย์เป็นสมเด็จพระบรมราชาธิราช ขณะนั้นพระยาบาลเมืองเจ้าเมืองพิษณุโลกได้ลงมาเข้าเฝ้า จึงพระราชทานสุพรรณบัฏเครื่องราชูปโภคและเฉลิมพระนามเป็น'''มหาธรรมราชาธิราช''' มีการมหรสพเฉลิมฉลองที่เมืองพิษณุโลก และโปรดให้พระยารามราช พระยาเชลียง และพระยาแสนสอยดาว มาช่วยงานด้วย<ref name="ยอกย้อน">''ความยอกย้อนของประวัติศาสตร์'', หน้า 175-176</ref>

พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับปลีก หมายเลข 2/ก 104 ระบุว่าเมื่อเจ้าสามพระยาได้ครองราชย์เป็นสมเด็จพระบรมราชาธิราช ขณะนั้นพระยาบาลเมืองเจ้าเมืองพิษณุโลกได้ลงมาเข้าเฝ้า จึงพระราชทานสุพรรณบัฏเครื่องราชูปโภคและเฉลิมพระนามเป็น'''มหาธรรมราชาธิราช''' มีการมหรสพเฉลิมฉลองที่เมืองพิษณุโลก และโปรดให้พระยารามราช พระยาเชลียง และพระยาแสนสอยดาว มาช่วยงานด้วย<ref name="ยอกย้อน">''ความยอกย้อนของประวัติศาสตร์'', หน้า 175-176</ref>


== การสวรรคตและสิ้นสุดอาณาจักรสุโขทัย ==
== การสวรรคตและสิ้นสุดอาณาจักรสุโขทัย ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:30, 2 ธันวาคม 2562

พระมหาธรรมราชา
พระมหากษัตริย์ราชวงศ์พระร่วง
ผู้ครองเมืองพิษณุโลก
ครองราชย์พ.ศ. 1962 - 1981
ราชาภิเษกพ.ศ. 1962
ก่อนหน้าเจ้าสามพระยา
ถัดไปสมเด็จพระราเมศวรเจ้า
สวรรคตพ.ศ. 1981
พระราชบุตรพระยายุทธิษฐิระ
ราชวงศ์ราชวงศ์พระร่วง
พระราชบิดาพระมหาธรรมราชา
พระราชมารดาแม่นางษาขา

พระมหาธรรมราชาที่ 4 หรือ บรมปาล หรือ พระยาบาลเมือง เป็นพระราชโอรสในพระมหาธรรมราชาพระองค์หนึ่ง[ก] ได้ครองเมืองพิษณุโลกในระหว่างปี พ.ศ. 1962-1981 นับเป็นพระองค์สุดท้ายของราชวงศ์พระร่วงที่ได้ครองเมืองพิษณุโลก[1]

พระราชประวัติ

พระมหากษัตริย์ราชวงศ์พระร่วง
พ่อขุนศรีอินทราทิตย์
พ่อขุนบานเมือง
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พระยาเลอไทย
พระยางั่วนำถุม
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 2
พระมหาธรรมราชาที่ 3
พระมหาธรรมราชาที่ 4

okboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomerokboomer

พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ระบุว่าเมื่อพระมหาธรรมราชาธิราชเจ้าเมืองพิษณุโลกสวรรคตในปี พ.ศ. 1962 หัวเมืองเหนือเกิดจลาจลเพราะพระยาบาลเมืองและพระยารามแห่งสุโขทัยแย่งชิงอำนาจกัน สมเด็จพระอินทราชาแห่งกรุงศรีอยุธยาจึงเสด็จมาเมืองพระบาง (นครสวรรค์) ทั้งพระยาบาลเมืองและพระยารามทรงทราบก็เสด็จออกมาถวายบังคม เมื่อสมเด็จพระอินทราชาเสด็จกลับกรุงศรีอยุธยาแล้วจึงโปรดให้พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับปลีก หมายเลข 2/ก 104 ระบุว่าเมื่อเจ้าสามพระยาได้ครองราชย์เป็นสมเด็จพระบรมราชาธิราช ขณะนั้นพระยาบาลเมืองเจ้าเมืองพิษณุโลกได้ลงมาเข้าเฝ้า จึงพระราชทานสุพรรณบัฏเครื่องราชูปโภคและเฉลิมพระนามเป็นมหาธรรมราชาธิราช มีการมหรสพเฉลิมฉลองที่เมืองพิษณุโลก และโปรดให้พระยารามราช พระยาเชลียง และพระยาแสนสอยดาว มาช่วยงานด้วย[2]

การสวรรคตและสิ้นสุดอาณาจักรสุโขทัย

พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ระบุว่าสมเด็จพระบรมราชาธิราชโปรดให้สมเด็จพระราเมศวรเจ้าพระราชโอรสไปครองเมืองพิษณุโลกในปี พ.ศ. 1981[3] จึงสันนิษฐานว่าพระมหาธรรมราชาที่ 4 อาจสวรรคตในปีนี้ นับแต่นั้นราชวงศ์สุพรรณภูมิก็ปกครองเมืองพิษณุโลกต่อมาอีกหลายสมัยและอาณาจักรสุโขทัยกับอาณาจักรอยุธยาก็รวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน[4]

หมายเหตุ

อ้างอิง

เชิงอรรถ
  1. 1.0 1.1 นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 43
  2. ความยอกย้อนของประวัติศาสตร์, หน้า 175-176
  3. พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 395
  4. นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 69
  5. พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม 1, หน้า 214
บรรณานุกรม
  • วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ. ความยอกย้อนของประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการชำระประวัติศาสตร์ไทย, 2539. 329 หน้า. ISBN 978-777-1-97-7 ข้อผิดพลาดพารามิเตอร์ใน {{ISBN}}: checksum
  • มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา. นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา, 2554. 264 หน้า. ISBN 978-616-7308-25-8
  • พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น. นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2553. 800 หน้า. ISBN 978-616-7146-08-9
  • พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม 1. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2534. 370 หน้า. ISBN 978-417-144-8 ข้อผิดพลาดพารามิเตอร์ใน {{ISBN}}: checksum


ก่อนหน้า พระมหาธรรมราชาที่ 4 ถัดไป
เจ้าสามพระยา ผู้ครองเมืองพิษณุโลก
(พ.ศ. 1967 - พ.ศ. 1981)
สมเด็จพระราเมศวรเจ้า