รายชื่อตัวละครในรามเกียรติ์
รายชื่อต่อไปนี้เป็นตัวละครที่ปรากฏในวรรณคดีเรื่อง รามเกียรติ์
เนื้อหา
- 1 พงศ์นารายณ์
- 2 พรหมพงศ์และอสุรพงศ์
- 3 มเหศวรพงษ์ หรือ มเหสักขเทวราช
- 4 ฤๅษี
- 4.1 ฤๅษีสร้างกรุงอโยธยา 4 ตน
- 4.2 ฤๅษีที่พระรามพบเมื่อคราวเดินดงครั้งแรก 4 ตน
- 4.3 ฤๅษีที่ชุบนางมณโฑ 4 ตน
- 4.4 ฤๅษีที่ชุบนางกาลอัจนา 1 ตน
- 4.5 ฤๅษีที่อยู่แดนมิถิลา 1 ตน
- 4.6 ฤๅษีที่ยู่แดนขีดขิน 1 ตน
- 4.7 ฤๅษีที่อยู่แดนเมืองลงกา 3 ตน
- 4.8 ฤๅษีที่ทำพิธีหุงข้าวทิพย์ในกรุงอโยธยา 5 ตน
- 4.9 ฤๅษีที่อยู่เขาตรีกูฏ 3 ตน
- 4.10 ฤๅษีที่อยู่เชิงเขามรกต 1 ตน
- 4.11 ฤๅษีที่อยู่เชิงเขาไกรลาศ 2 ตน
- 4.12 ฤๅษีที่อยู่แดนไกษเกษ 1 ตน
- 4.13 ฤๅษีที่อยู่ป่ากาลวาต 1 ตน
- 4.14 ฤๅษีที่หนุมานพบเมื่อคราวไปถวายแหวนนางสีดา 2 ตน
- 4.15 ฤๅษีที่อวตาร 1 ตน
- 4.16 ฤๅษีทศกัณฐ์แปลง
- 5 วานรพงศ์
- 6 คนธรรพ์
- 7 พระยาปักษาชาติ
- 8 พระยานาค
- 9 ม้าพระที่นั่ง
- 10 พราน
- 11 สถานที่ในเรื่องรามเกียรติ์
- 12 อ้างอิง
พงศ์นารายณ์[แก้]
ท้าวโรมพัต[แก้]
ท้าวโรมพัตเป็นเจ้าเมืองโรมพัตตัน มีพระธิดาชื่อนางอรุณวดี เมื่อครั้งที่เมืองโรมพัตตันฝนไม่ตกที่เมืองโรมพัตตันมาเป็นเวลาสายุมปี เกิดยี จึงให้จัดพิธีขอฝน แต่ไม่เป็นผล ต่อมาทราบว่า มีฤๅษีตนหนึ่งชื่อกไลโกฎ บำเพ็ญตบะญาณแก่กล้าจึงทำให้เกิดฝนแล้งขึ้น ท้าวโรมพัตจึงให้นางอรุณวดี ไปทำลายพิธี โดยเข้าไปกอดและบีบนวด ทำให้ฤๅษีกภไลโกฎ ตบะแตก
พระอโนมาตัน[แก้]
พระอโนมาตัน หรือ อโนมาตัน - พระ ( พงศ์นารายณ์ - วงศ์กษัตริย์แห่งกรุงอโยธยา ) เป็นกษัตริย์ครองกรุงอโยธยาองค์ที่ ๑ เป็นต้นวงค์อโยธยา พระอโนมาตันเกิดจากดอกบัวที่ผุดขึ้นมาจากพระนาภีขององค์พระนารายณ์เมื่อเสร็จจากการสังหารหิรันตยักษ์ พระอิศวรสั่งให้สร้างเมืองและให้ชื่อเมืองว่า กรุงอโยธยา และประทานอาวุธวิเศษเพื่อปราบเหล่ายักษ์พาล ครองราชย์ได้ 60,000 ปีจึงได้สละราชบัลลังก์ให้ท้าวอัชบาล
ท้าวทศรถและเครือญาติ[แก้]
- ท้าวทศรถ
- นางสมุทรชา
- นางไกยเกษี
- นางเกาสุริยา
- พระราม
- พระมงกุฎและพระลบ เป็นโอรสของพระรามกับนางสีดา
- พระลบ
- พระพรต
- พระลักษมณ์
- พระสัตรุด
- ท้าวไกยเกษ
- ท้าวชนกจักรวรรดิ์
พรหมพงศ์และอสุรพงศ์[แก้]
อสูรลงกา[แก้]
- ศรีสุนันทา
- จิตรมาลี
- สุวรรณมาลัย
- วรประไภ
- รัชฎา
- กุเปรัน
- ทัพนาสูร
- อัศธาดา
- มารัน
- ทศกัณฐ์
- กุมภกรรณ
- พิเภก
- พระยาขร
- พระยาทูษณ์
- พระยาตรีเศียร
- นางสำมนักขา
- นางมณโฑ
- กาลอัคคีนาคราช หรือนางกาลอัคคี
- อินทรชิต
- สีดา
- ทศพิน
- บรรลัยกัลป์
- สหัสสกุมาร
- สิบรถ
- สุพรรณมัจฉา หรือ นางสุพรรณมัจฉา
- ทศคีรีวัน
- ทศคีรีธร
- จันทวดี
- คันธมาลี
- ตรีชฎา
- รัชฎาสูร
- สุวรรณกันยุมา
- เบญกาย หรือ นางเบญกาย
- มังกรกัณฐ์
- แสงอาทิตย์
- วิรุณจำบัง
- ตรีเมฆ
- กุมภกาศ
- อดูลปีศาจ
- วรณีสูร
- ยามลิวัน
- กันยุเวก
- วิรุณมุข
- กากนาสูร
- สวาหุ
- มารีศ
- เจษฎา
- ชิวหา
- นนยวิก
- วายุเวก
เสนายักษ์[แก้]
- มโหทร
- เปาวนาสูร
- การุณราช
- กาลสูร
- นนทจิตร
- นนทไพรี
- นนทยักษ์
- นนทสูร
- พัทกาวี
- ภานุราช
- มหากาย
- อิทธิกาย
- รณศักดิ์
- รณสิทธิ์
- โรมจักร
- เวรัมภ
- ศุกสารณ์
- ไวยวาสูร
- สุขาจาร
- อสูรกำปั่น
กองลาดตระเวณรักษากรุง[แก้]
กรุงมลิวัน[แก้]
อสูรพงศ์[แก้]
เสนายักษ์[แก้]
- นนทการ
- มารกบิล
- เมฆสูร หรือ เมฆาสูร
- วิษณุราช
- วรไกรสูรหรือ ไวยไกรสูร
- สุพินสัน หรือ สุรพิน
- อสุรพัตร หรือ อสุรเพตรา
อสูรกองตระเวณรักษาด่าน[แก้]
เมืองบาดาล[แก้]
พรหมพงศ์[แก้]
- สหมลิวัน ต้นกษัตริย์ในพิภพบาดาล
อสูรพงศ์[แก้]
- มหายมยักษ์ หรือ ท้าวสากยวงษามหายมยักษ์
- จันทรประภาศรี
- พิรากวน
- ไมยราพ
- ไวยวิก
เสนายักษ์[แก้]
อสูรพรหมพงศ์[แก้]
- มาลีวราช หรือ มาลีวัคคพรหม
อสูรเทพบุตร[แก้]
อสูรที่ต้องสาปพระเป็นเจ้าทั้งสาม[แก้]
- กุมภัณฑ์นุราช( สุนันทเทวบุตร )
- ปักหลั่น
- กุมพล หรือ กุมภัณฑ์
ยักษิณีและยักษ์ในป่า[แก้]
- อัศมุขี
- นนทการ หรือ อสุนนทกาล ผู้เฝ้าประตูไกรลาส ต้องสาปมาเป็นมหิงสาเผือกชื่อ ทรพามีภรรยาชื่อ นิลกาสร มีบุตรชื่อ ทรพี
นางฟ้าต้องสาป[แก้]
- บุษมาลีอยู่ในเมืองบายัน หรือมายัน
- วานรินทร์ อยู่ในถ้ำเขาอากาศ
- เสาวรี อยู่ในถ้ำเวภารบรรพต
- สุวรรณมาลี อยู่กลางแม่น้ำ สามพระยาวานรไปพบเมื่อครั้งไปถวายแหวนนางสีดา
อสูรกษัตริย์[แก้]
- ตรีบุรัม เจ้าเมืองโสฬส
- อนุราช หรือ ท้าวอุนาราช เจ้าเมืองมหาสิงขร
- รัตนามเหสีท้าวอนุราช
- ทินสูร
- กุเวรนุราช เจ้าเมืองกาลวุธ
- ตรีปักกัน โอรสท้าวกุเวรนุราช
- กาลวิก
- กาลจักร
- คนธรรพ์นุราช หรือท้าวคนธรรพ์ เจ้าเมืองดิดสิสิน หรือ ดิศศรสิน
- จันทาหรือ นางนันทา มเหสีท้าวคนธรรพ์นุราช
- วิรุณพัท โอรสท้าวคนธรรพ์นุราชและนางจันทา
- อสูรวายุภักษ์ เจ้าเมืองมหาวิเชียรธานี บิดาเป็นอสูร มารดาเป็นนกอินทรี กายเป็นยักษ์สีเขียว มือและเท้าเป็นนก มีปีกมีหาง
- วิรุฬหก ทรงสังวาลนาค เจ้าเมืองมหาอันธการนคร ในพิภพบาดาล
อสูรสัมพันธมิตรของทศกัณฐ์[แก้]
- จักรวรรดิ พญายักษ์ หรือ ท้าวจักรวรรดิ เจ้าเมืองมลิวัน
- สัตลุง พญายักษ์ เจ้าเมืองจักรวาล
- ไพจิตราสูร พญายักษ์ เจ้าพิภพอสูร
- สัทธาสูรพญายักษ์ เจ้าเมืองอัสดงค์
- อัศกรรณมาลาสูร พญายักษ์ เจ้าเมืองดุรัม
- มหาบาลเทพาสูร พญายักษ์ เจ้าเมืองมหาจักรวาล
อสูรต่างเมือง[แก้]
- สหัสเดชะ- พญารากษส กษัตริย์กรุงปางตาล
- ไวยตาล - พญารากษส กษัตริย์กรุงกุรุราษฏร์
- กุเปรัน- พญายักษ์ กษัตริย์เมืองกาลจักร
- ทัพนาสูร- พญายักษ์ กษัตริย์เมืองจักรวาล
- อัศธาดา- พญายักษ์ กษัตริย์เมืองวัทกัน
- มารัน- พญายักษ์ กษัตริย์เมืองโสฬส
- ขร- พญายักษ์ กษัตริย์เมืองโรมคัล องค์ที่ 1
- มังกรกัณฐ์- พญายักษ์ กษัตริย์เมืองโรมคัล องค์ที่ 2
- ทูษณ์- พญายักษ์ กษัตริย์เมืองจารึก องค์ที่ 1
- วิรุญจำบัง- พญายักษ์ กษัตริย์เมืองจารึก องค์ที่ 2
- ตรีเศียร- พญายักษ์กษัตริย์เมืองมัชวารี องค์ที่ 1
- ตรีเมฆ- พญายักษ์ กษัตริย์เมืองมัชวารี องค์ที่ 2
- มูลพรัม- พญายักษ์ อุปราชเมืองปางตาล
มเหศวรพงษ์ หรือ มเหสักขเทวราช[แก้]
- พระอิศวร
- พระอุมาเทวี
- พระพิฆเนศ
- พระขันทกุมาร
- พระนารายณ์
- พระลักษมี
- พระมเหศวรี
- พระพรหม
- พระสุรัสวดี
- พระอินทร์
- สุจิตรา
- สุชาดา
- สุธรรมา
- สุนันทา
- จิตตุบท
- จิตตุบาท
- จิตตุราช
- จิตตุเสน หรือ จิตตุรงค์
- อรชุน
- มาตุลี
- เวสสุญาณ
- วิศณุกรรม หรือ วิศวกรรม
- มณีเมขลา
- อาทิตย์
- จันทร์
- อังคาร
- พุธ
- พฤหัสบดี
- ศุกร์
- เสาร์
- ราหู
- เกตุ
- วายุ
- กาล
- พระพนัสบดี
- สมุทร
- อัคนี
- หิมพานต์
- พระพิรุณ
- มหาชัย
- ธตรฐ
- วิรุฬหก
- วิรูปักษ์
- รัมภา
- อรุณวดี
- ปัญจสีขร
- ปรคนธรรพ
- ยม
- เวสสวัณ
ฤๅษี[แก้]
ฤๅษีสร้างกรุงอโยธยา 4 ตน[แก้]
ฤๅษีที่พระรามพบเมื่อคราวเดินดงครั้งแรก 4 ตน[แก้]
ฤๅษีที่ชุบนางมณโฑ 4 ตน[แก้]
ฤๅษีที่ชุบนางกาลอัจนา 1 ตน[แก้]
- โคดม หรือ โคตะมะ หรือ พระฤๅษีโคดม
ฤๅษีที่อยู่แดนมิถิลา 1 ตน[แก้]
ฤๅษีที่ยู่แดนขีดขิน 1 ตน[แก้]
ฤๅษีที่อยู่แดนเมืองลงกา 3 ตน[แก้]
ฤๅษีที่ทำพิธีหุงข้าวทิพย์ในกรุงอโยธยา 5 ตน[แก้]
ฤๅษีที่อยู่เขาตรีกูฏ 3 ตน[แก้]
ฤๅษีที่อยู่เชิงเขามรกต 1 ตน[แก้]
ฤๅษีที่อยู่เชิงเขาไกรลาศ 2 ตน[แก้]
ฤๅษีที่อยู่แดนไกษเกษ 1 ตน[แก้]
ฤๅษีที่อยู่ป่ากาลวาต 1 ตน[แก้]
ฤๅษีที่หนุมานพบเมื่อคราวไปถวายแหวนนางสีดา 2 ตน[แก้]
ฤๅษีที่อวตาร 1 ตน[แก้]
ฤๅษีทศกัณฐ์แปลง[แก้]
วานรพงศ์[แก้]
วานรกษัตริย์( พระยาวานร )[แก้]
ชามพูวราช กากาศ สุครีพ ชมพูพาน หนุมาน องคต มัจฉานุ อสุรผัด ท้าวมหาชมพู นิลพัท นิลนนท์
วานรสิบแปดมงกุฎ[แก้]
ฝ่ายเมืองขีดขิน[แก้]
เกยูร โกมุท ไชยามพวาน มาลุนทเกสร วิมล ไวยบุตร สัตพลี สุรเสน สุรกานต์
ฝ่ายเมืองชมพู[แก้]
ไม่ปรากฏว่าเป็นฝ่ายใด[แก้]
วานรเตียวเพชร[แก้]
ฝ่ายเมืองขีดขิน[แก้]
ฝ่ายเมืองชมพู[แก้]
ไม่ปรากฏว่าเป็นฝ่ายใด[แก้]
วานรจังเกียง[แก้]
เขนลิง[แก้]
คนธรรพ์[แก้]
พระยาปักษาชาติ[แก้]
- พระยาสุบรรณ พาหนะพระนารายณ์ สีหงเสน
- พระยาสดายุสหายท้าวทศรถ สีเขียว
- พระยาสัมพาทีพี่พระยาสดายุ สีแดง อยู่ที่เขาเหมติรัน
พระยานาค[แก้]
- พระยาอนันตนาคราชอาสนะพระนารายณ์
- พระยากาลนาคบิดานางกาลอัคคี มเหสีทศกัณฐ์
- พระยาวิรุณนาคผู้ที่รับนางสีดาไว้เมื่อหนีพระรามไปบาดาล
- พระยากัมพลนาคผู้บอกที่ซ่อนเร้นให้ตรีเมฆ
- พระยาทธรฐนาคผุ้ที่รักษาแม่ศิลาบดยาแก้หอกกระบิลพัท
- พระยาวาสุกรีนาคผู้ที่รักษาลูกศิลาบดแก้หอกเมฆพัท
- พระยานาคมรกตผู้ที่รักษาเมืองบาดาล บริเวณใต้น้ำ
ม้าพระที่นั่ง[แก้]
- ม้าอุปการ
- ม้านิลพาหุม้าของวิรุญจำบัง
- ม้าของพระยาทูต ( พระยาทูษณ์ )
- ม้าของไพนาสุริยวงศ์ ( ทศพิน )
- ม้าของวิรุณมุข
- ม้าของทศคีรีวัน
- ม้าของทศคีรีธร
- ม้าเมฆมาลาม้าของนนยวิก
- ม้าอนันตสีหาศน์ม้าของวายุเวก
- ม้าของพระมงกุฎพระลบ
- ม้ามารกระบิล
พราน[แก้]
สถานที่ในเรื่องรามเกียรติ์[แก้]
ป่า[แก้]
- ป่าทวาราวดีป่าที่ตั้งกรุงอโยธยา
- ป่ากัทลีวันป่าที่หนุมานไปจำศีล
- ป่าอัมพวันป่าที่พิเภกไปเก็บผลไม้
- ป่ากาลวาตป่าที่พระมงกุฎ พระลบ อยู่
- ป่าศาลวันป่าที่นางเสาวรีอยู่
- ป่าเวฬุวันป่าที่กุมภกาศทำพิธี
ภูเขา[แก้]
- เขาเหมติรัน
- เขาอำมตัง
- เขาตรีกูฎ
- เขาโสลาศ
- เขาอินทกาลา
- เขานิลกาลา
- เขาอากาศ
- เขาโสฬิศ
- เขาไกรลาศ
- เขาคันธมาทน์
- เขาคันธกาลา
- เขาศตกูฎ
- เขาลพพระบุรี
- เขามรกต
- เขาอากาศ
- เขาเวภาร
- เขาวิบูลบรรพต
- เขามยุรา
- เขาปัญจคีรี
- เขาสรรพยา
- เขาสญชีพสัญญ๊
- เขาอาวุธ
แม่น้ำ[แก้]
- แม่น้ำสรงกษัตริย์
- แม่น้ำสะโตง
- แม่น้ำโคทาวารี
- แม่น้ำอำมฤต
- แม่น้ำคันธา
- แม่น้ำมหาสาตร
- แม่น้ำคงคา
- แม่น้ำยมนา
- แม่น้ำอจิรวดี
- แม่น้ำมหิ
- แม่น้ำสราภู
ด่านเมืองลงกาและบาดาล[แก้]
ทวีป[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- พงศ์ในเรื่องรามเกียรติ์ ของเก่า คัดจากสมุดไทย
- สี ลักษณะหัวโขน และประวัติสังเขปของตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์ นายประพันธ์ สุคนธะชาติ รวบรวม - เรียบเรียง
- สมญาภิธานรามเกียรติ์
- ระบำ อสุเรศเศวตฤทธา ของกรมศิลปากร