พระที่นั่งในประเทศไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท

พระที่นั่ง มีหลายความหมาย ความหมายแรกนั้น หมายถึง เรือนที่ประทับหรือที่สำหรับทรงงานสำหรับพระเจ้าแผ่นดิน ทั้งประเภทเรือนยอด (หรือที่เรียกว่าปราสาท) และเรือนหลังคาจั่ว พระที่นั่งเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ รวมทั้งสถานที่ภายในองค์ปราสาทที่ใช้สำหรับประกอบกิจต่าง ๆ[1] หรืออาจหมายถึง พระราชอาสน์หรือที่นั่งที่มีชื่อเฉพาะในแต่ละองค์ โดยถ้าใช้คำว่าพระที่นั่งประกอบกับคำอื่น ๆ ก็มีความหมายว่าเป็นพาหนะที่จัดเฉพาะพระเจ้าแผ่นดินหรือพระราชวงศ์ชั้นสูง เช่น รถพระที่นั่ง เรือพระที่นั่ง โดยพระที่นั่งที่สำคัญในประเทศไทย ได้แก่

พระนารายณ์ราชนิเวศน์[แก้]

พระราชวังโบราณ อยุธยา[แก้]

ชื่อ
พระที่นั่งไพฑูรย์มหาปราสาท
พระที่นั่งไพชยนต์มหาปราสาท
พระที่นั่งไอศวรรย์มหาปราสาท
พระที่นั่งจักรวรรดิ์ไพชยนต์
พระที่นั่งสรรเพชญมหาปราสาท
พระที่นั่งวิหารสมเด็จ
พระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์
พระที่นั่งบรรยงค์รัตนาสน์
พระที่นั่งเบญจรัตนมหาปราสาท
พระที่นั่งมังคลาภิเษกมหาปราสาท
พระที่นั่งตรีมุข

พระบรมมหาราชวัง[แก้]

ชื่อ
พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท
พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
พระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร
พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน
พระที่นั่งเทพสถานพิลาส
พระที่นั่งเทพอาสนพิไลย
พระที่นั่งไพศาลทักษิณ
พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน
พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท
พระที่นั่งราชกรัณยสภา
พระที่นั่งพิมานรัตยา
พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท
พระที่นั่งสนามจันทร์
พระที่นั่งราชฤดี
พระที่นั่งดุสิดาภิรมย์
พระที่นั่งมหิศรปราสาท
พระที่นั่งศิวาลัยมหาปราสาท
พระที่นั่งบรมพิมาน
พระที่นั่งสีตลาภิรมย์
พระที่นั่งเทวารัณยสถาน

พระราชวังดุสิต[แก้]

ชื่อ
พระที่นั่งวิมานเมฆ
พระที่นั่งอนันตสมาคม
พระที่นั่งอภิเศกดุสิต
พระที่นั่งอัมพรสถาน
พระที่นั่งอุดรภาค
พระที่นั่งสีตลาภิรมย์

พระราชวังบางปะอิน[แก้]

พระราชวังจันทรเกษม[แก้]

พระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า หรือ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร)[แก้]

พระราชวังพญาไท[แก้]

พระราชวังสนามจันทร์[แก้]

พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน[แก้]

พระรามราชนิเวศน์[แก้]

พระนครคีรี[แก้]

พระราชอาสน์[แก้]

อื่นๆ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]