ประเทศไทยใน พ.ศ. 2485
หน้าตา
| |||||
ดูเพิ่ม: |
---|
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2485 (ค.ศ. 1942) ในประเทศไทย เป็นปีที่ 161 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นปีที่ 8 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
ผู้นำ
[แก้]- พระมหากษัตริย์: สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
- ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์:
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา
- เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (จนถึง 21 กรกฎาคม)
- ปรีดี พนมยงค์
- นายกรัฐมนตรี: แปลก พิบูลสงคราม (คณะราษฎร)
- สภาผู้แทนราษฎร: ชุดที่ 3
- ประธานสภาผู้แทนราษฎร:
- พระยามานวราชเสวี (แต่งตั้ง) (จนถึง 24 มิถุนายน)
- กระแส ประวาหะนาวิน (แต่งตั้ง) (ตั้งแต่ 6 กรกฎาคม)
- ประธานศาลฎีกา: วงศ์ ลัดพลี (ก่อนวันที่ 9 พฤษภาคม ใช้บรรดาศักดิ์ "พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์")
- เจ้าผู้ครองประเทศราช
- นครจัมปาศักดิ์: เจ้ายุติธรรมธร
- นครเชียงตุง: เจ้าฟ้าสิริสุวรรณราชยสสรพรหมลือ (ตั้งแต่ 25 มกราคม)
- นครลำพูน: เจ้าจักรคำขจรศักดิ์
เหตุการณ์
[แก้]มกราคม
[แก้]- 25 มกราคม - ประเทศไทยประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ
กุมภาพันธ์
[แก้]- 6 กุมภาพันธ์ - อังกฤษและอินเดียประกาศสงครามต่อไทย
- 11 กุมภาพันธ์ - แอฟริกาใต้ประกาศสงครามต่อไทย
มีนาคม
[แก้]- 2 มีนาคม - ออสเตรเลียประกาศสงครามต่อไทย
- 16 มีนาคม - นิวซีแลนด์ประกาศสงครามต่อไทย
มิถุนายน
[แก้]- 24 มิถุนายน - มีพิธีเปิดอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ที่บริเวณต้นทางหลวงประชาธิปัตย์ กรุงเทพมหานคร (ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นถนนพหลโยธิน)
กันยายน
[แก้]- ปลายเดือนกันยายน-พฤศจิกายน - เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ในกรุงเทพมหานคร มีฝนตกหนักลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำสูงมากไหลล้นคันกั้นน้ำทั้งสองฝั่งแม่น้ำตลอดแนว วัดระดับน้ำที่สะพานสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้ 2.27 เมตร เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง
- พฤศจิกายน
- จอมพลป. พิบูลสงคราม ปราศรัยผ่านทางวิทยุเชิญชวนให้ประชาชนหันมาบริโภคก๋วยเตี๋ยว
- รัฐบาลมอบหมายให้กระทรวงมหาดไทยมีการรณรงค์ให้บริโภคก๋วยเตี๋ยวทุกอำเภอ
- พฤศจิกายน
ธันวาคม
[แก้]- 10 ธันวาคม - ธนาคารแห่งประเทศไทย เพื่อเปิดดำเนินการในฐานะธนาคารกลางแห่งประเทศไทย
- 18 ธันวาคม - เกิดเหตุการณ์บ้านโป่ง มีทหารญี่ปุ่นตบหน้าเณร 3 คนชาวไทยจนเกิดการลุกขึ้นมาต่อต้านทหารญี่ปุ่น
- รัฐบาลประกาศปรับปรุงอักษรไทยซึ่งมีผู้เรียกว่า "หนังสือจอมพล" โดยตัดสระและพยัญชนะที่เห็นชอบว่าไม่จำเป็นออก และใช้ถึงปี พ.ศ. 2487 จึงยกเลิกไป
วันเกิด
[แก้]มกราคม
[แก้]- 5 มกราคม - ชัยชนะ บุญนะโชติ ศิลปินแห่งชาติ
กุมภาพันธ์
[แก้]มีนาคม
[แก้]- 7 มีนาคม - ไวพจน์ เพชรสุพรรณ ศิลปินแห่งชาติ (ถึงแก่อนิจกรรม 12 มกราคม พ.ศ. 2565)
- 8 มีนาคม - สันติ ทักราล องคมนตรี (ถึงแก่อนิจกรรม 29 เมษายน พ.ศ. 2554)
- 22 มีนาคม - อาวุธ เงินชูกลิ่น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม (ถึงแก่อนิจกรรม 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556)
- 23 มีนาคม - ปองพล อดิเรกสาร อดีตรองนายกรัฐมนตรี
เมษายน
[แก้]- 20 เมษายน - สวนิต คงสิริ นักการเมือง
- 30 เมษายน - หม่อมราชวงศ์อรฉัตร ซองทอง
พฤษภาคม
[แก้]- 11 พฤษภาคม - สาโรจน์ ชวนะวิรัช นักการเมือง (ถึงแก่อนิจกรรม 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567)
- 15 พฤษภาคม - บัญญัติ บรรทัดฐาน อดีตรองนายกรัฐมนตรี
- 18 พฤษภาคม - ประชา พรหมนอก อดีตรองนายกรัฐมนตรี
มิถุนายน
[แก้]- 3 มิถุนายน - ประกอบ สังข์โต นักการเมือง (ถึงแก่อนิจกรรม 17 เมษายน พ.ศ. 2560)
- 11 มิถุนายน - เลียงชัย ลิ้มล้อมวงศ์ นักวิทยาศาสตร์ด้านกายวิภาคและสรีรวิทยา
- 25 มิถุนายน - ยอดชาย เมฆสุวรรณ นักแสดง
กรกฎาคม
[แก้]- 9 กรกฎาคม
- อุไรวรรณ เทียนทอง นักการเมือง
- ศรีเมือง เจริญศิริ นักการเมือง
- 15 กรกฎาคม - ยงยุทธ วิชัยดิษฐ อดีตรองนายกรัฐมนตรี
- 28 กรกฎาคม - มนตรี จุฬาวัฒนฑล นักชีวเคมี ผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สิงหาคม
[แก้]- 10 สิงหาคม - เมธี ครองแก้ว กรรมการ ป.ป.ช.
- 25 สิงหาคม - สุวิทย์ ยอดมณี นักการเมือง
กันยายน
[แก้]- 7 กันยายน - บัญญัติ บรรทัดฐาน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย, อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
- 18 กันยายน - จรัล บูรณพันธุ์ศรี ผู้พิพากษาและกรรมการการเลือกตั้ง
- 22 กันยายน - สุธี สุทธิสมบูรณ์ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
ตุลาคม
[แก้]- 6 ตุลาคม - อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม นักการเมือง (ถึงแก่อนิจกรรม 13 มิถุนายน พ.ศ. 2566)
- 7 ตุลาคม - นิคม แสนเจริญ นักการเมือง (ถึงแก่อนิจกรรม 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535)
พฤศจิกายน
[แก้]- 12 พฤศจิกายน - จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา องคมนตรี
- 29 พฤศจิกายน - หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ผู้กำกับภาพยนตร์
ธันวาคม
[แก้]- 8 ธันวาคม - พิเชษฐ สถิรชวาล นักการเมือง
- 9 ธันวาคม - สัมพันธ์ ทองสมัคร นักการเมือง
- 15 ธันวาคม - เมตตา รุ่งรัตน์ นักแสดง
- 20 ธันวาคม - ภาวนา ชนะจิต นักแสดง (ถึงแก่กรรม 9 กันยายน พ.ศ. 2555)
วันถึงแก่กรรม
[แก้]มกราคม
[แก้]- 23 มกราคม - เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี (หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล) (เกิด 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2420)
มิถุนายน
[แก้]- 14 มิถุนายน - เจ้าจอมสว่าง ในรัชกาลที่ 5 (เกิด 30 มิถุนายน พ.ศ. 2399)
กรกฎาคม
[แก้]- 1 กรกฎาคม - หม่อมเจ้าทองฑีฆายุ ทองใหญ่ (ประสูติ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2429)
กันยายน
[แก้]- 12 กันยายน - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรศักดิ์สุประภาต (ประสูติ 4 กันยายน พ.ศ. 2460)
พฤศจิกายน
[แก้]- 9 พฤศจิกายน - พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวีวิไลยวรรณ (ประสูติ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2418)
ธันวาคม
[แก้]- 26 ธันวาคม - พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวุฒิอาภรณ์ (ประสูติ 23 เมษายน พ.ศ. 2416)