การประกาศสงคราม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แฟรงคลิน ดี. รูสเวลต์ ประธานาธิบดีสหรัฐ ลงนามในการประกาศสงครามต่อจักรวรรดิญี่ปุ่นเมื่อ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 หลังเกิดการโจมตีที่อ่าวเพิร์ลฮาร์เบอร์

การประกาศสงคราม คือคำประกาศอย่างเป็นทางการ กระทำโดยชาติใดชาติหนึ่งเพื่อแสดงว่าสถานะทางกฎหมายของการสู้รบระหว่างประเทศได้เกิดขึ้นแล้ว

ประวัติ[แก้]

ข้อกำหนดว่าต้องมีการประกาศสงครามเสียก่อนจึงเริ่มรบกันได้ เป็นพันธกรณีระหว่างประเทศซึ่งกำหนดไว้ในอนุสัญญากรุงเฮก (Hague Conventions) เมื่อปี พ.ศ. 2450 (ค.ศ. 1907) บางประเทศก็ให้สัตยาบันในอนุสัญญานี้ ขณะที่อีกหลายประเทศก็ไม่ให้สัตยาบัน การประกาศสงครามนอกจากจะแจ้งให้ประเทศคู่สงครามได้ทราบแล้ว ยังมีจุดมุ่งหมายเพื่อแจ้งต่อประเทศเป็นกลางให้ทราบถึงสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้อาจมีการระบุในประกาศสงครามถึงการนำอำนาจสำหรับสถานการณ์ฉุกเฉินมาใช้ เป็นต้น

การสู้รบของทหารสหรัฐฯ ที่เกิดหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เช่น สงครามเกาหลีและสงครามเวียดนาม ไม่ได้มีการประกาศสงครามแต่อย่างใด โดยหลีกเลี่ยงไปใช้คำอธิบายว่าเป็นปฏิบัติการเชิงรับเพื่อป้องกันตนเองหรือรักษาความสงบ

ประเทศไทยประกาศสงคราม[แก้]

ในสงครามอังกฤษ-สยาม ประเทศสยาม (อาณาจักรอยุธยา) เคยประกาศสงครามต่อบริษัทอินเดียตะวันออก (อังกฤษ) เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2230[1][2][3]

ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ประเทศสยามเคยประกาศสงครามต่อเยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการีเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460[4]

ในสงครามฝรั่งเศส-ไทย (กรณีพิพาทอินโดจีน) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศไทยเคยประกาศสงครามต่อฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2484[5][6]

ในสงครามมหาเอเชียบูรพา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศไทยเคยประกาศสงครามต่อสหราชอาณาจักรและสหรัฐเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485[7] แต่หลังสงครามสิ้นสุด วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ไทยประกาศว่าการประกาศสงครามดังกล่าวเป็นโมฆะโดยจะเห็นได้จากมีขบวนการเสรีไทยได้ร่วมมือกับฝ่ายพันธมิตรเพื่อต่อต้านญี่ปุ่น และการประกาศสงครามดังกล่าวไม่ใช่เจตนาที่แท้จริงของคนไทย

รายชื่อวันที่ประกาศสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง[แก้]

วันที่ ชาติประกาศ ชาติเป้าหมาย
28 กรกฎาคม ค.ศ. 1914  ออสเตรีย-ฮังการี  เซอร์เบีย
1 สิงหาคม ค.ศ. 1914  เยอรมนี  รัสเซีย
3 สิงหาคม ค.ศ. 1914  เบลเยียม
 ฝรั่งเศส
4 สิงหาคม ค.ศ. 1914  จักรวรรดิบริติช  เยอรมนี
5 สิงหาคม ค.ศ. 1914  มอนเตเนโกร  ออสเตรีย-ฮังการี
6 สิงหาคม ค.ศ. 1914  ออสเตรีย-ฮังการี  รัสเซีย
 เซอร์เบีย  เยอรมนี
8 สิงหาคม ค.ศ. 1914  มอนเตเนโกร
12 สิงหาคม ค.ศ. 1914  จักรวรรดิบริติช  ออสเตรีย-ฮังการี
 ฝรั่งเศส
23 สิงหาคม ค.ศ. 1914  ญี่ปุ่น  เยอรมนี
25 สิงหาคม ค.ศ. 1914  ออสเตรีย-ฮังการี
28 สิงหาคม ค.ศ. 1914  ออสเตรีย-ฮังการี  เบลเยียม
1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1914  รัสเซีย  จักรวรรดิออตโตมัน
5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1914  ฝรั่งเศส
 จักรวรรดิบริติช
11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1914  จักรวรรดิออตโตมัน  รัสเซีย
 ญี่ปุ่น
 จักรวรรดิบริติช
2 ธันวาคม ค.ศ. 1914  เซอร์เบีย  จักรวรรดิออตโตมัน
3 ธันวาคม ค.ศ. 1914  มอนเตเนโกร
5 ธันวาคม ค.ศ. 1914  ญี่ปุ่น
23 พฤษภาคม ค.ศ. 1915  อิตาลี  ออสเตรีย-ฮังการี
21 สิงหาคม ค.ศ. 1915  จักรวรรดิออตโตมัน
28 สิงหาคม ค.ศ. 1915  เยอรมนี
14 ตุลาคม ค.ศ. 1915  บัลแกเรีย  เซอร์เบีย
15 ตุลาคม ค.ศ. 1915  จักรวรรดิบริติช  บัลแกเรีย
 มอนเตเนโกร
16 ตุลาคม ค.ศ. 1915  ญี่ปุ่น
 ฝรั่งเศส
19 ตุลาคม ค.ศ. 1915  อิตาลี
 รัสเซีย
9 มีนาคม ค.ศ. 1916  เยอรมนี  โปรตุเกส
15 มีนาคม ค.ศ. 1916  ออสเตรีย-ฮังการี
28 สิงหาคม ค.ศ. 1916  โรมาเนีย  ออสเตรีย-ฮังการี
 เยอรมนี  โรมาเนีย
30 สิงหาคม ค.ศ. 1916  จักรวรรดิออตโตมัน
1 กันยายน ค.ศ. 1916  บัลแกเรีย
6 เมษายน ค.ศ. 1917  สหรัฐ  เยอรมนี
7 เมษายน ค.ศ. 1917  ปานามา
คิวบา
27 มิถุนายน ค.ศ. 1917  กรีซ  ออสเตรีย-ฮังการี
 เยอรมนี
 บัลแกเรีย
 จักรวรรดิออตโตมัน
22 กรกฎาคม ค.ศ. 1917  สยาม  ออสเตรีย-ฮังการี
22 กรกฎาคม ค.ศ. 1917  เยอรมนี
4 สิงหาคม ค.ศ. 1917  ไลบีเรีย
14 สิงหาคม ค.ศ. 1917  จีน  ออสเตรีย-ฮังการี
14 สิงหาคม ค.ศ. 1917  เยอรมนี
26 ตุลาคม ค.ศ. 1917  บราซิล
7 ธันวาคม ค.ศ. 1917  สหรัฐ  ออสเตรีย-ฮังการี
10 ธันวาคม ค.ศ. 1917  ปานามา
23 เมษายน ค.ศ. 1918  กัวเตมาลา  เยอรมนี
6 พฤษภาคม ค.ศ. 1918 นิการากัว  ออสเตรีย-ฮังการี
6 พฤษภาคม ค.ศ. 1918  เยอรมนี
23 พฤษภาคม ค.ศ. 1918 คอสตาริกา
12 กรกฎาคม ค.ศ. 1918 เฮติ
19 กรกฎาคม ค.ศ. 1918 ฮอนดูรัส

รายชื่อวันที่ประกาศสงครามโลกครั้งที่สอง[แก้]

วันที่ ชาติประกาศ ชาติเป้าหมาย
1939-09-01  ไรช์เยอรมัน Poland
1939-09-01 สาธารณรัฐสโลวักที่ 1 Poland
1939-09-03  สหราชอาณาจักร
 ฝรั่งเศส
 ไรช์เยอรมัน
1939-09-03  ออสเตรเลีย
 นิวซีแลนด์
 ไรช์เยอรมัน
1939-09-04  Nepal  ไรช์เยอรมัน
1939-09-06 South Africa  ไรช์เยอรมัน
1939-09-10 Bahrain
 แคนาดา
Oman
 ไรช์เยอรมัน
1939-09-17  สหภาพโซเวียต Poland
1939-11-30  สหภาพโซเวียต  ฟินแลนด์
1940-04-09  ไรช์เยอรมัน  เดนมาร์ก
 นอร์เวย์
1940-04-12 United Kingdom Faroe Islands
1940-05-10  ไรช์เยอรมัน  เบลเยียม
 เนเธอร์แลนด์
1940-05-10  ไรช์เยอรมัน  ลักเซมเบิร์ก
1940-05-10  สหราชอาณาจักร ไอซ์แลนด์ Iceland
1940-06-10 Italy France
 สหราชอาณาจักร
1940-06-10  แคนาดา Italy
1940-06-11 South Africa
 ออสเตรเลีย
 นิวซีแลนด์
Italy
1940-06-11 France Italy
1940-06-16  สหภาพโซเวียต  ลิทัวเนีย
1940-06-17  สหภาพโซเวียต  เอสโตเนีย
 ลัตเวีย
1940-06-25  สหราชอาณาจักร Vichy France
1940-09-09 Italy Egypt
1940-09-22  ญี่ปุ่น Vichy France
1940-09-23 Free France
 ออสเตรเลีย
Vichy France
1940-10-??  ไทย Vichy France
1940-10-28  อิตาลี Greece
1941-02-05 Free France Italy
1941-04-06  ไรช์เยอรมัน Greece
1941-04-06  ไรช์เยอรมัน
Bulgaria
Yugoslavia
1941-04-06 Italy
Hungary
Yugoslavia
1941-04-14 Nazi Germany Egypt
1941-05-02 United Kingdom Iraq
1941-06-08 Free France  ไรช์เยอรมัน
1941-06-22  ไรช์เยอรมัน
Italy
Romania
 สหภาพโซเวียต
1941-06-22
Tuva
 ไรช์เยอรมัน
1941-06-25  ฟินแลนด์  สหภาพโซเวียต
1941-06-27 Hungary  สหภาพโซเวียต
1941-08-25  สหภาพโซเวียต
 สหราชอาณาจักร
 ออสเตรเลีย
Iran
1941-12-06  สหราชอาณาจักร  ฟินแลนด์
1941-12-07  สหราชอาณาจักร Romania
Hungary
1941-12-07  ญี่ปุ่น  สหรัฐ
 สหราชอาณาจักร
1941-12-07  แคนาดา
 ออสเตรเลีย
 นิวซีแลนด์
 ญี่ปุ่น
 ฟินแลนด์
Romania
Hungary
1941-12-07  สหราชอาณาจักร Romania
 ฟินแลนด์
Hungary
1941-12-07  ปานามา  ญี่ปุ่น
1941-12-08  สหรัฐ
 สหราชอาณาจักร
 ออสเตรเลีย
แม่แบบ:Country data Commonwealth of the Philippines
 คอสตาริกา
 สาธารณรัฐโดมินิกัน
 เอลซัลวาดอร์
 กัวเตมาลา
 เฮติ
 ฮอนดูรัส
 เนเธอร์แลนด์
 นิวซีแลนด์
 นิการากัว
 ญี่ปุ่น
1941-12-08 South Africa  ญี่ปุ่น
1941-12-08  จีน
Italy
 ญี่ปุ่น
1941-12-08 Mongolia  ไรช์เยอรมัน
1941-12-09  ออสเตรเลีย
 นิวซีแลนด์
 ญี่ปุ่น
1941-12-11  ไรช์เยอรมัน
Italy
 สหรัฐ
1941-12-11  สหรัฐ  ไรช์เยอรมัน
Italy
1941-12-11 Poland (in-exile)  ญี่ปุ่น
1941-12-12 Romania
Bulgaria
 สหรัฐ
 สหราชอาณาจักร
1941-12-12  ออสเตรเลีย
 เนเธอร์แลนด์
Portugal
1941-12-13  สหราชอาณาจักร
 นิวซีแลนด์
South Africa
Bulgaria
1941-12-13 Hungary  สหรัฐ
1941-12-14 Independent State of Croatia  สหรัฐ
 สหราชอาณาจักร
1941-12-16 Czechoslovakia (In-exile)  ไรช์เยอรมัน
Italy
 ฟินแลนด์
Romania
Hungary
Japan
Bulgaria
Independent State of Croatia[8]
1941-12-17 Albania  สหรัฐ
1941-12-19  นิการากัว Bulgaria
Hungary
Romania
1941-12-20  เบลเยียม  ญี่ปุ่น
1942-01-01 United Nations Axis Powers
1942-01-06  ออสเตรเลีย Bulgaria
1942-01-16 Iraq  ไรช์เยอรมัน
Italy
 ญี่ปุ่น
1942-01-25  ไทย  สหราชอาณาจักร
 สหรัฐ
1942-01-25  สหราชอาณาจักร
 นิวซีแลนด์
South Africa
 ไทย
1942-02-12  เปรู  ไรช์เยอรมัน
 ญี่ปุ่น
1942-02-19  ญี่ปุ่น Portugal
1942-05-05 South Africa
Netherlands (in-exile)
Poland
Vichy France
1942-05-05 United Kingdom
Northern Rhodesia
Southern Rhodesia
South Africa
Tanganyika
Belgian Congo
Vichy France
 ญี่ปุ่น
1942-05-22  เม็กซิโก  ไรช์เยอรมัน
Italy
 ญี่ปุ่น
1942-08-22 Brazil  ไรช์เยอรมัน
Italy
1942-11-08 United States
Canada
Vichy France
1942-11-10 Nazi Germany
Italy
Vichy France
1942-12-14 Ethiopia  ไรช์เยอรมัน
Italy
 ญี่ปุ่น
1943-09-01 China Regime of Wang Jingwei Allied Powers
1943-04-02  โบลิเวีย Axis powers
1943-09-09 Iran  ไรช์เยอรมัน
1943-10-13 Italy  ไรช์เยอรมัน
1943-11-26 Colombia  ไรช์เยอรมัน
1944-01-17 Free France Italian Social Republic
1944-01-27 Liberia  ไรช์เยอรมัน
 ญี่ปุ่น
1944-06-06
France
Nazi Germany
1944-07-25
France
 ญี่ปุ่น
1944-08-25 Romania  ไรช์เยอรมัน
Hungary
1944-09-05  สหภาพโซเวียต Bulgaria
1944-09-08 Bulgaria  ไรช์เยอรมัน
1944-09-15  ไรช์เยอรมัน  ฟินแลนด์
1944-09-23 แม่แบบ:Country data Second Philippine Republic  สหรัฐ
 สหราชอาณาจักร
1944-12-31 Hungary  ไรช์เยอรมัน
1945-02-02  เอกวาดอร์  ไรช์เยอรมัน
 ญี่ปุ่น
1945-02-07  อาร์เจนตินา
 ปารากวัย
 ไรช์เยอรมัน
 ญี่ปุ่น
1945-02-15 Venezuela
 อุรุกวัย
 ไรช์เยอรมัน
 ญี่ปุ่น
1945-02-21  ซานมารีโน  ไรช์เยอรมัน
1945-02-23  ตุรกี  ไรช์เยอรมัน
 ญี่ปุ่น
1945-02-24 Egypt  ไรช์เยอรมัน
 ญี่ปุ่น
1945-02-26 Syria
 เลบานอน
 ไรช์เยอรมัน
 ญี่ปุ่น
1945-04-01  ซาอุดีอาระเบีย  ญี่ปุ่น
1945-04-03  ฟินแลนด์  ไรช์เยอรมัน
1945-04-11  ชิลี Japan
1945-07-06 Brazil  ญี่ปุ่น
1945-07-09  นอร์เวย์  ญี่ปุ่น
1945-07-14 Italy  ญี่ปุ่น
1945-08-08  สหภาพโซเวียต  ญี่ปุ่น
1945-08-10 Mongolia  ญี่ปุ่น

รายชื่อการประกาศสงคราม[แก้]

รูปภาพ[แก้]

สงครามโลกครั้งที่สอง[แก้]

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  • น.อ.รศ.ทองใบ ธีรนันทางกูร (หงษ์เวียงจันทร์) ร.น. ,พจนานุกรมศัพท์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อังกฤษ-ไทย, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ดวงแก้ว, 2545, หน้า 84-85. ISBN 974-344-042-9
  • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 / ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550