ประเทศไทยใน พ.ศ. 2533
หน้าตา
| |||||
ดูเพิ่ม: |
---|
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) ในประเทศไทย เป็นปีที่ 209 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นปีที่ 45 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ผู้นำ
[แก้]- พระมหากษัตริย์ : พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
- สยามมกุฎราชกุมาร: พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (ขณะทรงดำรงพระราชอิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร)
- นายกรัฐมนตรี: ชาติชาย ชุณหะวัณ (ชาติไทย)
- สภาผู้แทนราษฎร: ชุดที่ 16
- ประธานสภาผู้แทนราษฎร: ปัญจะ เกสรทอง (ชาติไทย)
- วุฒิสภา: ชุดที่ 5
- ประธานวุฒิสภา: วรรณ ชันซื่อ (แต่งตั้ง)
- ประธานศาลฎีกา:
- อำนัคฆ์ คล้ายสังข์ (จนถึง 30 กันยายน)
- โสภณ รัตนากร (ตั้งแต่ 1 ตุลาคม)
เหตุการณ์
[แก้]เมษายน
[แก้]- 16 เมษายน - อุทยานแห่งชาติดอยหลวง ได้รับการจัดตั้งเป็นอุทยานแห่งชาติลำดับที่ 61 ครอบคลุมพื้นที่ใน จังหวัดเชียงราย จังหวัดลำปาง และ จังหวัดพะเยา
มิถุนายน
[แก้]- 4 มิถุนายน - โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา รับบุคคลที่เป็นโรคออทิซึม เข้าเรียนในระดับประถมศึกษาปีที่ 1 เป็นครั้งแรก[1]จำนวน 5 คน
- 22 มิถุนายน - เวลาประมาณ 2.00 น. คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติหรือ รสช. อ้างเหตุความมั่นคงบุกยึดรถถ่ายทอดของ อ.ส.ม.ท. ที่จอดอยู่บริเวณหน้าวัดไผ่เลี้ยง เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ซึ่งเหตุนี้ต่อมาได้ลุกลามกลายเป็นเหตุขัดแย้งประการหนึ่งที่ทำให้ทหารคณะนี้ทำการรัฐประหารในปีต่อมาด้วย
กรกฎาคม
[แก้]- 16 กรกฎาคม
- ได้ก่อตั้ง โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒
- อัลบั้ม บูมเมอแรง ของ ธงไชย แมคอินไตย์ เป็นอัลบั้มแรกที่มียอดขายเกิน 2 ล้านตลับ
กันยายน
[แก้]- 23 กันยายน - เกิดอุบัติเหตุเรือนำเที่ยวล่มที่เขื่อนอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น ทำให้มีผู้เสียชีวิต 39 คน
- 24 กันยายน - เหตุการณ์แก๊สระเบิดที่ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ พ.ศ. 2533
ตุลาคม
[แก้]พฤศจิกายน
[แก้]- 10 พฤศจิกายน - ยูห์ เมียงวู ทำลายสถิติป้องกันแชมป์โลกรุ่นไลท์ฟลายเวทของชาง จุงกู (15 ครั้ง) ได้ในวันนี้เมื่อป้องกันแชมป์โลกรุ่นจูเนียร์ฟลายครั้งที่ 16 ชนะคะแนน ลีโอ กาเมซ และเป็นการทำลายสถิติป้องกันแชมป์โลกสูงสุดในเอเชียของชาง จุงกูด้วย โดยทำได้ก่อนเขาทราย แกแล็คซี่ 1 เดือน
วันเกิด
[แก้]มกราคม
[แก้]- 29 มกราคม - จรินทร์พร จุนเกียรติ นักแสดง
กุมภาพันธ์
[แก้]- 14 กุมภาพันธ์ - ปรีชญา พงษ์ธนานิกร นักแสดง
- 21 กุมภาพันธ์ - ภัทรภณ โตอุ่น นักแสดง
- 27 กุมภาพันธ์ - ชัยพล จูเลียน พูพาร์ต นักแสดง
มีนาคม
[แก้]- 19 มีนาคม - ปริญ สุภารัตน์ นักแสดง
เมษายน
[แก้]- 3 เมษายน - ธนิน มนูญศิลป์ นักแสดง
มิถุนายน
[แก้]- 15 มิถุนายน - อริสรา ทองบริสุทธิ์ นักแสดง
- 20 มิถุนายน - เรืองฤทธิ์ ศิริพานิช นักร้อง
กรกฎาคม
[แก้]- 19 กรกฎาคม - ฝนทิพย์ วัชรตระกูล นักแสดง
สิงหาคม
[แก้]- 22 สิงหาคม - ราศรี บาเล็นซิเอก้า จิราธิวัฒน์ นักแสดง
กันยายน
[แก้]- 17 กันยายน - หม่อมราชวงศ์แม้นนฤมาส ยุคล สวัสดิ์-ชูโต
- 21 กันยายน
- นิษฐา คูหาเปรมกิจ นักแสดง
- บุตรศรัณย์ ทองชิว นักร้อง (ถึงแก่กรรม 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562)
- 24 กันยายน - วฤษฎิ์ ศิริสันธนะ นักแสดง
ตุลาคม
[แก้]- 21 ตุลาคม - อัญรินทร์ ธีราธนันพัฒน์ นักแสดง
- 22 ตุลาคม - กรณ์ภัสสร ด้วยเศียรเกล้า นักร้อง
- 23 ตุลาคม - นภัทร อินทร์ใจเอื้อ นักร้อง
พฤศจิกายน
[แก้]- 8 พฤศจิกายน - บัณฑวิช ตระกูลพานิชย์ นักแสดง
วันถึงแก่กรรม
[แก้]มกราคม
[แก้]- 3 มกราคม - สุธรรม ภัทราคม นักการเมือง (เกิด 3 กันยายน พ.ศ. 2460)
กุมภาพันธ์
[แก้]- 1 กุมภาพันธ์ - หม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต (ประสูติ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2456)
พฤษภาคม
[แก้]- 28 พฤษภาคม - พงษ์ ปุณณกันต์ นักการเมือง (เกิด 30 กันยายน พ.ศ. 2458)
มิถุนายน
[แก้]- 30 มิถุนายน - หม่อมเจ้าภาธรมณี ศุขสวัสดิ์ (ประสูติ 24 กันยายน พ.ศ. 2444)
กรกฎาคม
[แก้]- 8 กรกฎาคม - บุปผา สายชล นักร้อง (เกิด 13 เมษายน พ.ศ. 2490)
สิงหาคม
[แก้]- 11 สิงหาคม - หม่อมเจ้าพูนพิศมัย ดิศกุล (ประสูติ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2438)
- 17 สิงหาคม - เกรียง กีรติกร นักการเมือง (เกิด 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2455)
กันยายน
[แก้]- 1 กันยายน - สืบ นาคะเสถียร (เกิด 31 ธันวาคม พ.ศ. 2492)
- 15 กันยายน - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช (ประสูติ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2465)
ตุลาคม
[แก้]- 26 ตุลาคม - ไชยา สุริยัน นักแสดง (เกิด 7 มิถุนายน พ.ศ. 2477)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- ↑ "ออทิซึมในประเทศไทย :จากตำราสู่ประสบการณ์การจัดการเรียนรวมสำหรับเด็กออทิสติกในโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-07. สืบค้นเมื่อ 2019-11-07.