ข้ามไปเนื้อหา

อูนอูนเอนเนียม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อูนอูนเอนเนียม, 00Uue
อูนอูนเอนเนียม
การอ่านออกเสียง/ˌn.nˈɛniəm/ ( ฟังเสียง) (OON-oon-EN-ee-əm)
รูปลักษณ์ไม่ทราบ
อูนอูนเอนเนียมในตารางธาตุ
Hydrogen Helium
Lithium Beryllium Boron Carbon Nitrogen Oxygen Fluorine Neon
Sodium Magnesium Aluminium Silicon Phosphorus Sulfur Chlorine Argon
Potassium Calcium Scandium Titanium Vanadium Chromium Manganese Iron Cobalt Nickel Copper Zinc Gallium Germanium Arsenic Selenium Bromine Krypton
Rubidium Strontium Yttrium Zirconium Niobium Molybdenum Technetium Ruthenium Rhodium Palladium Silver Cadmium Indium Tin Antimony Tellurium Iodine Xenon
Caesium Barium Lanthanum Cerium Praseodymium Neodymium Promethium Samarium Europium Gadolinium Terbium Dysprosium Holmium Erbium Thulium Ytterbium Lutetium Hafnium Tantalum Tungsten Rhenium Osmium Iridium Platinum Gold Mercury (element) Thallium Lead Bismuth Polonium Astatine Radon
Francium Radium Actinium Thorium Protactinium Uranium Neptunium Plutonium Americium Curium Berkelium Californium Einsteinium Fermium Mendelevium Nobelium Lawrencium Rutherfordium Dubnium Seaborgium Bohrium Hassium Meitnerium Darmstadtium Roentgenium Copernicium Nihonium Flerovium Moscovium Livermorium Tennessine Oganesson
Fr

Uue

Uhp
ออกาเนสซอนอูนอูนเอนเนียมอูนไบนิลเลียม
หมู่group 1: hydrogen and alkali metals
คาบperiod 8 (theoretical, extended table)
บล็อก  บล็อก-s
การจัดเรียงอิเล็กตรอน[Og] 8s1 (predicted)[1]
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น2, 8, 18, 32, 32, 18, 8, 1
(ทำนายไว้)
สมบัติทางกายภาพ
วัฏภาค ณ STPไม่ทราบสถานะ (อาจเป็นได้ทั้งของแข็งหรือของเหลว)[1]
จุดหลอมเหลว273–303 K ​(0–30 °C, ​32–86 (ทำนายไว้)[1] °F)
จุดเดือด903 K ​(630 °C, ​1166 (ทำนายไว้)[2] °F)
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.)3 (ทำนายไว้)[1] g/cm3
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวคาดว่า 2.01–2.05 [3] kJ/mol
สมบัติเชิงอะตอม
เลขออกซิเดชัน(+1), (+3), (+5) (predicted)[1][4]
รัศมีอะตอมempirical: คาดว่า 240[1] pm
รัศมีโคเวเลนต์คาดว่า 263–281[3] pm
ไอโซโทปของอูนอูนเอนเนียม
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของอูนอูนเอนเนียม
หมวดหมู่ หมวดหมู่: อูนอูนเอนเนียม
| แหล่งอ้างอิง

อูนอูนเอนเนียม (ละติน: Ununennium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอมเท่ากับ 119 และมีสัญลักษณ์ Uue

"อูนอูนเอนเนียม" เป็นชื่อชั่วคราวในระบบ IUPAC (บางตำราอ่านว่า "อูนันเอนเนียม") และมีชื่อชั่วคราวอีกชื่อตามพยากรณ์ของดมีตรี เมนเดเลเยฟว่า "เอกา-แฟรนเซียม" (eka-francium) อูนอูนเอนเนียมเป็นธาตุในหมู่โลหะแอลคาไลและเป็นธาตุแรกในคาบที่ 8

การปรากฏ สมบัติ และปฏิกิริยาเคมี

[แก้]

ซึ่งเป็นผลผลิตจากการปะทะกันระหว่าง อะตอมของ ไอน์สไตเนียม-254 กับ ไอออนของ แคลเซียม-48 กระทำที่ เบอร์คีเลย์,รัฐแคลิฟอร์เนีย ดังสมการ

ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2555 ได้มีการค้นพบไอโซโทปของอูนอูนเอนเนียมโดยการปะทะกันระหว่างเบอร์คีเลียมและไทเทเนียมดังสมการ

อูนอูนเอนเนียมคาดว่าจะมีสมบัติคล้ายกับแฟรนเซียม แต่อูนอูนเอนเนียมมีสถานะต่างจากทุกธาตุในหมู่โลหะแอลคาไล คือ ธาตุลิเทียม, โซเดียม, โพแทสเซียม, รูบิเดียม, ซีเซียม และ แฟรนเซียม เป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง ส่วนอูนอูนเอนเนียม เป็นของเหลวหรือของแข็งเหลวที่อุณหภูมิห้อง

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 Hoffman, Darleane C.; Lee, Diana M.; Pershina, Valeria (2006). "Transactinides and the future elements". ใน Morss; Edelstein, Norman M.; Fuger, Jean (บ.ก.). The Chemistry of the Actinide and Transactinide Elements (3rd ed.). Dordrecht, The Netherlands: Springer Science+Business Media. ISBN 978-1-4020-3555-5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "Haire" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  2. 2.0 2.1 Fricke, B.; Waber, J. T. (1971). "Theoretical Predictions of the Chemistry of Superheavy Elements" (PDF). Actinides Reviews. 1: 433–485. สืบค้นเมื่อ 7 August 2013.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Bonchev, Danail; Kamenska, Verginia (1981). "Predicting the Properties of the 113–120 Transactinide Elements". J. Phys. Chem. 85: 1177–1186.
  4. Cao, Chang-Su; Hu, Han-Shi; Schwarz, W. H. Eugen; Li, Jun (2022). "Periodic Law of Chemistry Overturns for Superheavy Elements". ChemRxiv (preprint). doi:10.26434/chemrxiv-2022-l798p. สืบค้นเมื่อ 16 November 2022.
  5. 5.0 5.1 Düllmann, Christoph E. and the TASCA E119 collaboration. Search for element 119, 11th Workshop on Recoil Separator for Superheavy Element Chemistry, GSI Darmstadt, Germany, September 14, 2012.