ข้ามไปเนื้อหา

เทคนีเชียม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เทคนีเชียม, 00Tc
เทคนีเชียม
การอ่านออกเสียง/tɛkˈnʃ(i)əm/ (tek-nee-sh(ee-)əm)
รูปลักษณ์โลหะสีเทาเงินมันวาว
เลขมวล[97]
เทคนีเชียมในตารางธาตุ
Hydrogen Helium
Lithium Beryllium Boron Carbon Nitrogen Oxygen Fluorine Neon
Sodium Magnesium Aluminium Silicon Phosphorus Sulfur Chlorine Argon
Potassium Calcium Scandium Titanium Vanadium Chromium Manganese Iron Cobalt Nickel Copper Zinc Gallium Germanium Arsenic Selenium Bromine Krypton
Rubidium Strontium Yttrium Zirconium Niobium Molybdenum Technetium Ruthenium Rhodium Palladium Silver Cadmium Indium Tin Antimony Tellurium Iodine Xenon
Caesium Barium Lanthanum Cerium Praseodymium Neodymium Promethium Samarium Europium Gadolinium Terbium Dysprosium Holmium Erbium Thulium Ytterbium Lutetium Hafnium Tantalum Tungsten Rhenium Osmium Iridium Platinum Gold Mercury (element) Thallium Lead Bismuth Polonium Astatine Radon
Francium Radium Actinium Thorium Protactinium Uranium Neptunium Plutonium Americium Curium Berkelium Californium Einsteinium Fermium Mendelevium Nobelium Lawrencium Rutherfordium Dubnium Seaborgium Bohrium Hassium Meitnerium Darmstadtium Roentgenium Copernicium Nihonium Flerovium Moscovium Livermorium Tennessine Oganesson
Mn

Tc

Re
โมลิบดีนัมเทคนีเชียมรูทีเนียม
หมู่group 7
คาบคาบที่ 5
บล็อก  บล็อก-d
การจัดเรียงอิเล็กตรอน[Kr] 4d5 5s2
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น2, 8, 18, 13, 2
สมบัติทางกายภาพ
วัฏภาค ณ STPsolid
จุดหลอมเหลว2430 K ​(2157 °C, ​3915 °F)
จุดเดือด4538 K ​(4265 °C, ​7709 °F)
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.)11 g/cm3
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว33.29 kJ/mol
ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ585.2 kJ/mol
ความจุความร้อนโมลาร์24.27 J/(mol·K)
ความดันไอ (extrapolated)
P (Pa) 1 10 100 1 k 10 k 100 k
at T (K) 2727 2998 3324 3726 4234 4894
สมบัติเชิงอะตอม
เลขออกซิเดชัน−3, −1, 0, +1,[1] +2, +3,[1] +4, +5, +6, +7 (ออกไซด์เป็นกรดที่แรง)
อิเล็กโตรเนกาทิวิตีPauling scale: 1.9
รัศมีอะตอมempirical: 136 pm
รัศมีโคเวเลนต์147±7 pm
Color lines in a spectral range
Color lines in a spectral range
เส้นสเปกตรัมของเทคนีเชียม
สมบัติอื่น
โครงสร้างผลึกhexagonal close-packed (hcp)
Hexagonal close-packed crystal structure for เทคนีเชียม
การขยายตัวจากความร้อน7.1 µm/(m⋅K)[2] (at r.t.)
การนำความร้อน50.6 W/(m⋅K)
สภาพต้านทานไฟฟ้า200 nΩ⋅m (ณ 20 °C)
ความเป็นแม่เหล็กพาราแมกเนติก
Molar magnetic susceptibility+270.0×10−6 cm3/mol (298 K)[3]
Speed of sound thin rod16,200 m/s (ณ 20 °C)
เลขทะเบียน CAS7440-26-8
ประวัติศาสตร์
การทำนายดมีตรี เมนเดเลเยฟ (1871)
การค้นพบและการแยกให้บริสุทธิ์ครั้งแรกEmilio Segrè and Carlo Perrier (1937)
Too much 'discovery/first isolation' data
ไอโซโทปของเทคนีเชียม
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของเทคนีเชียม
หมวดหมู่ หมวดหมู่: เทคนีเชียม
| แหล่งอ้างอิง

เทคนีเชียม (อังกฤษ: Technetium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 43 และสัญลักษณ์คือ Tc

เทคนีเชียมเป็นโลหะทรานซิชันมีสีเทาเงิน ส่วนใหญ่มักมาจากการสังเคราะห์ พบในเปลือกโลกเล็กน้อย โดยเกิดจากผลพลอยของปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชันของยูเรเนียม-235 (235U) ที่อยู่ในสินแร่

การสังเคราะห์

[แก้]

เทคนีเชียมที่ใช้งานในปัจจุบันมาจากการสังเคราะห์ทั้งหมด โดยใช้วิธีการสลายตัวของโมลิบดีนัม-99 (99Mo) ในสารประกอบ [99MoO
4
]2- ดังสมการ :

[99MoO
4
]2- → [99mTcO
4
]- + e-

การใช้ประโยชน์

[แก้]
  • 99mTc เป็นไอโซโทป อายุครึ่งชีวิตสั้นใช้ตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ได้มากมาย เช่น การถ่ายภาพรังสีแกมมา, การถ่ายภาพหาเนื้องอก เป็นต้น
  • ใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในบางครั้ง[4]
  • ใช้ทำแบตเตอรี่นิวเคลียร์ขนาดนาโน[5]
  1. 1.0 1.1 "Technetium: technetium(III) iodide compound data". OpenMOPAC.net. สืบค้นเมื่อ 2007-12-10.
  2. Cverna, Fran (2002). "Ch. 2 Thermal Expansion". ASM Ready Reference: Thermal properties of metals (PDF). ASM International. ISBN 978-0-87170-768-0.
  3. Weast, Robert (1984). CRC, Handbook of Chemistry and Physics. Boca Raton, Florida: Chemical Rubber Company Publishing. pp. E110. ISBN 0-8493-0464-4.
  4. Schwochau 2000, pp. 87–90.
  5. James S. Tulenko; Dean Schoenfeld; David Hintenlang; Carl Crane; Shannon Ridgeway; Jose Santiago; Charles Scheer (2006-11-30). University Research Program in Robotics REPORT (PDF) (Report). University of Florida. doi:10.2172/895620. สืบค้นเมื่อ 2007-10-12.