อิตเทรียม
หน้าตา
อิตเทรียม | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การอ่านออกเสียง | /ˈɪtriəm/ | ||||||||||||||
รูปลักษณ์ | โลหะสีเงินขาว | ||||||||||||||
Standard atomic weight Ar°(Y) | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
อิตเทรียมในตารางธาตุ | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
หมู่ | group 3 | ||||||||||||||
คาบ | คาบที่ 5 | ||||||||||||||
บล็อก | บล็อก-d | ||||||||||||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [Kr] 4d1 5s2 | ||||||||||||||
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น | 2, 8, 18, 9, 2 | ||||||||||||||
สมบัติทางกายภาพ | |||||||||||||||
วัฏภาค ณ STP | solid | ||||||||||||||
จุดหลอมเหลว | 1799 K (1526 °C, 2779 °F) | ||||||||||||||
จุดเดือด | 3203 K (2930 °C, 5306 °F) | ||||||||||||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | 4.472 g/cm3 | ||||||||||||||
เมื่อเป็นของเหลว (ณ m.p.) | 4.24 g/cm3 | ||||||||||||||
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว | 11.42 kJ/mol | ||||||||||||||
ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ | 363 kJ/mol | ||||||||||||||
ความจุความร้อนโมลาร์ | 26.53 J/(mol·K) | ||||||||||||||
ความดันไอ
| |||||||||||||||
สมบัติเชิงอะตอม | |||||||||||||||
เลขออกซิเดชัน | 0,[2] +1, +2, +3 (ออกไซด์เป็นเบสอ่อน) | ||||||||||||||
อิเล็กโตรเนกาทิวิตี | Pauling scale: 1.22 | ||||||||||||||
รัศมีอะตอม | empirical: 180 pm | ||||||||||||||
รัศมีโคเวเลนต์ | 190±7 pm | ||||||||||||||
เส้นสเปกตรัมของอิตเทรียม | |||||||||||||||
สมบัติอื่น | |||||||||||||||
การมีอยู่ในธรรมชาติ | primordial | ||||||||||||||
โครงสร้างผลึก | hexagonal close-packed (hcp) | ||||||||||||||
การขยายตัวจากความร้อน | α, poly: 10.6 µm/(m⋅K) (at r.t.) | ||||||||||||||
การนำความร้อน | 17.2 W/(m⋅K) | ||||||||||||||
สภาพต้านทานไฟฟ้า | α, poly: 596 nΩ⋅m (at r.t.) | ||||||||||||||
ความเป็นแม่เหล็ก | พาราแมกเนติก[3] | ||||||||||||||
Molar magnetic susceptibility | +2.15×10−6 cm3/mol (2928 K)[4] | ||||||||||||||
มอดุลัสของยัง | 63.5 GPa | ||||||||||||||
โมดูลัสของแรงเฉือน | 25.6 GPa | ||||||||||||||
Bulk modulus | 41.2 GPa | ||||||||||||||
Speed of sound thin rod | 3300 m/s (ณ 20 °C) | ||||||||||||||
อัตราส่วนปัวซง | 0.243 | ||||||||||||||
Brinell hardness | 200–589 MPa | ||||||||||||||
เลขทะเบียน CAS | 7440-65-5 | ||||||||||||||
ประวัติศาสตร์ | |||||||||||||||
การตั้งชื่อ | ตั้งชื่อตามหมู่บ้านอิตเทอร์บี (สวีเดน) และชื่อแร่ อิตเทอร์ไบต์ (กาโดลิไนต์) | ||||||||||||||
การค้นพบ | โยฮันน์ กาโดลิน (1794) | ||||||||||||||
การแยกให้บริสุทธิ์เป็นครั้งแรก | ไฟรดริช วอเลอร์ (1838) | ||||||||||||||
ไอโซโทปของอิตเทรียม | |||||||||||||||
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของอิตเทรียม | |||||||||||||||
อิตเทรียม (อังกฤษ: Yttrium) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 39 และสัญลักษณ์คือ Y อิตเทรียมอยู่ในตารางธาตุหมู่ 3B อิตเทรียมเป็นโลหะประเภททรานซิชันมีสีขาวเงิน พบเล็กน้อยในแร่บนพื้นโลก และมักจะพบเป็นสารประกอบ 89Y เป็นไอโซโทปเสถียรเพียงตัวเดียว
การใช้งาน
[แก้]- สารประกอบ Y
2O
3 ใช้ทำสีแดงในโทรทัศน์จอแก้ว
- Y
3Fe
5O
12 เป็นวัสดุในการทำแผ่นกรองรังสีไมโครเวฟ
- YBa
2Cu
3O
7 นำไปทำเป็นสารตัวนำยวดยิ่ง
- ↑ "Standard Atomic Weights: Yttrium". CIAAW. 2021.
- ↑ Yttrium and all lanthanides except Ce and Pm have been observed in the oxidation state 0 in bis(1,3,5-tri-t-butylbenzene) complexes, see Cloke, F. Geoffrey N. (1993). "Zero Oxidation State Compounds of Scandium, Yttrium, and the Lanthanides". Chem. Soc. Rev. 22: 17–24. doi:10.1039/CS9932200017. and Arnold, Polly L.; Petrukhina, Marina A.; Bochenkov, Vladimir E.; Shabatina, Tatyana I.; Zagorskii, Vyacheslav V.; Cloke (2003-12-15). "Arene complexation of Sm, Eu, Tm and Yb atoms: a variable temperature spectroscopic investigation". Journal of Organometallic Chemistry. 688 (1–2): 49–55. doi:10.1016/j.jorganchem.2003.08.028.
- ↑ Lide, D. R., บ.ก. (2005). "Magnetic susceptibility of the elements and inorganic compounds". CRC Handbook of Chemistry and Physics (PDF) (86th ed.). Boca Raton (FL): CRC Press. ISBN 0-8493-0486-5. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-03-03. สืบค้นเมื่อ 2022-10-16.
{{cite book}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ Weast, Robert (1984). CRC, Handbook of Chemistry and Physics. Boca Raton, Florida: Chemical Rubber Company Publishing. pp. E110. ISBN 0-8493-0464-4.