โพรมีเทียม
หน้าตา
โพรมีเทียม | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|
การอ่านออกเสียง | /proʊˈmiːθiəm/ | |||||
รูปลักษณ์ | มันวาว | |||||
เลขมวล | [145] | |||||
โพรมีเทียมในตารางธาตุ | ||||||
| ||||||
คาบ | คาบที่ 6 | |||||
บล็อก | บล็อก-f | |||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [Xe] 4f5 6s2 | |||||
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น | 2, 8, 18, 23, 8, 2 | |||||
สมบัติทางกายภาพ | ||||||
วัฏภาค ณ STP | solid | |||||
จุดหลอมเหลว | 1315 K (1042 °C, 1908 °F) | |||||
จุดเดือด | 3273 K (3000 °C, 5432 °F) | |||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | 7.26 g/cm3 | |||||
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว | 7.13 kJ/mol | |||||
ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ | 289 kJ/mol | |||||
สมบัติเชิงอะตอม | ||||||
เลขออกซิเดชัน | +2, +3 (ออกไซด์เป็นเบสเล็กน้อย) | |||||
อิเล็กโตรเนกาทิวิตี | Pauling scale: 1.13 (?) | |||||
พลังงานไอออไนเซชัน |
| |||||
รัศมีอะตอม | empirical: 183 pm | |||||
รัศมีโคเวเลนต์ | 199 pm | |||||
เส้นสเปกตรัมของโพรมีเทียม | ||||||
สมบัติอื่น | ||||||
โครงสร้างผลึก | double hexagonal close-packed (dhcp) | |||||
การขยายตัวจากความร้อน | 9.0 µm/(m⋅K)[1] (at r.t.) | |||||
การนำความร้อน | 17.9 W/(m⋅K) | |||||
สภาพต้านทานไฟฟ้า | est. 0.75 µΩ⋅m (at r.t.) | |||||
ความเป็นแม่เหล็ก | paramagnetic[2] | |||||
มอดุลัสของยัง | α form: est. 46 GPa | |||||
โมดูลัสของแรงเฉือน | α form: est. 18 GPa | |||||
Bulk modulus | α form: est. 33 GPa | |||||
อัตราส่วนปัวซง | α form: est. 0.28 | |||||
เลขทะเบียน CAS | 7440-12-2 | |||||
ประวัติศาสตร์ | ||||||
การค้นพบ | ชาร์ล ดี. คอร์เยล, เจคอบ เอ. มารินสกี, ลอว์เรนซ์ อี. เกรนเดนิน (1945) | |||||
Named by | เกรซ แมรี่ คอร์เยล (1945) | |||||
ไอโซโทปของโพรมีเทียม | ||||||
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของโพรมีเทียม | ||||||
โพรมีเทียม (อังกฤษ: Promethium) ธาตุ มีเลขอะตอม 61 และสัญลักษณ์ Pm เป็นธาตุสังเคราะห์ในกลุ่มแลนทาไนด์ มี 2 อัญรูป โพรมีเทียมไม่มีไอโซโทปที่เสถียร ซึ่งแผ่รังสีเบต้า แต่ไม่แผ่รังสีแกมม่า
การใช้ประโยชน์
[แก้]- เกลือของโพรมีเทียม เช่น โพรมีเทียม(III) คลอไรด์ เรืองแสงสีน้ำเงินหรือสีเขียวในที่มืดได้ จึงมักใช้ในการทำเรือนนาฬิกาเก่า และเข็มทิศบางชนิด แต่เนื่องจากมีกัมมันตภาพรังสีสูงจึงทำให้ถูกห้ามใช้ผลิต
- ↑ Cverna, Fran (2002). "Ch. 2 Thermal Expansion". ASM Ready Reference: Thermal properties of metals (PDF). ASM International. ISBN 978-0-87170-768-0.
- ↑ Lide, D. R., บ.ก. (2005). "Magnetic susceptibility of the elements and inorganic compounds". CRC Handbook of Chemistry and Physics (PDF) (86th ed.). Boca Raton (FL): CRC Press. ISBN 0-8493-0486-5. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-03-03. สืบค้นเมื่อ 2022-10-16.
{{cite book}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)