ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Phainplang (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
| native_language =
| native_language =
| native_name =
| native_name =
| en_name = The Research Institute of Northeastern Arts and Culture Mahasarakham University
| en_name = The Research Institute of Northeastern Arts and Culture, Mahasarakham University
| image = [[ไฟล์:02msu color.png|150px|02msu color]]
| image = [[ไฟล์:02msu color.png|150px|02msu color]]
| address = มหาวิทยาลัยมหาสารคาม<br>ตำบลตลาด [[อำเภอเมืองมหาสารคาม|อำเภอเมือง]]<br>[[จังหวัดมหาสารคาม]]
| address = มหาวิทยาลัยมหาสารคาม<br>ตำบลตลาด [[อำเภอเมืองมหาสารคาม|อำเภอเมือง]]<br>[[จังหวัดมหาสารคาม]]
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
}}
}}


'''สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม''' ({{lang-en|The Research Institute of Northeastern Arts and Culture Mahasarakham University}}) เป็นสถาบันหนึ่งใน[[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]] เปิดขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พัฒนามาจากศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
'''สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม''' ({{lang-en|The Research Institute of Northeastern Arts and Culture, Mahasarakham University}}) เป็นสถาบันหนึ่งใน[[มหาวิทยาลัยมหาสารคาม]] เปิดขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พัฒนามาจากศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


==ประวัติ==
==ประวัติ==
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน เริ่มก่อตั้งในนาม '''ศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ''' มีที่ตั้งอยู่ ณ ภาควิชาศิลปะและวัฒนธรรม [[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตมหาสารคาม|มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒวิทยาเขตมหาสารคาม]] จนกระทั่งวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 [[คณะรัฐมนตรี]]เห็นชอบ อนุมัติในหลักการให้จัดตั้งเป็น “สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน” และในวันที่ 12 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน [[ทบวงมหาวิทยาลัย]]ประกาศให้ “ศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” เป็น “สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน” โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษเล่ม 103 ตอนที่ 198 หน้า 9-10 ลงวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529 ซึ่งถือเป็นหน่วยงานภายในของมหาวิทยาลัยมหาสารคามที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ<ref>[https://rinac.msu.ac.th/th/%e0%b8%9b%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%a7%e0%b8%b1%e0%b8%95%e0%b8%b4%e0%b8%84%e0%b8%a7%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b9%80%e0%b8%9b%e0%b9%87%e0%b8%99%e0%b8%a1%e0%b8%b2 ประวัติสถาบันวิจัย]</ref>
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน เริ่มก่อตั้งในนาม '''ศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ''' มีที่ตั้งอยู่ ณ ภาควิชาศิลปะและวัฒนธรรม [[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตมหาสารคาม|มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒวิทยาเขตมหาสารคาม]] จนกระทั่งวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 [[คณะรัฐมนตรี]]เห็นชอบ อนุมัติในหลักการให้จัดตั้งเป็น “สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน” และในวันที่ 12 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน [[ทบวงมหาวิทยาลัย]]ประกาศให้ “ศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” เป็น “สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน” โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษเล่ม 103 ตอนที่ 198 หน้า 9-10 ลงวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529 ซึ่งถือเป็นหน่วยงานภายในของมหาวิทยาลัยมหาสารคามที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ<ref>[https://rinac.msu.ac.th/th/%e0%b8%9b%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b8%a7%e0%b8%b1%e0%b8%95%e0%b8%b4%e0%b8%84%e0%b8%a7%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b9%80%e0%b8%9b%e0%b9%87%e0%b8%99%e0%b8%a1%e0%b8%b2 ประวัติสถาบันวิจัย]</ref>


พ.ศ. 2547 ได้รับอนุมัติให้เปิดสอนในหลักสูตรศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต แบ่งเป็น 3 แขนงวิชาคือ 1.สาขาการบริหารทางวัฒนธรรม 2.สาขาวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว 3.สาขาการวิจัยทางวัฒนธรรม พ.ศ. 2548 ได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยให้เปิดสอนในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาวัฒนธรรมศาสตร์ และสามารถเปิดรับนิสิตรุ่นแรกระดับปริญญาเอกในปี พ.ศ. 2554 หลักสูตรวัฒนธรรมศาสตร์ได้แยกเป็น [[คณะวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|“คณะวัฒนธรรมศาสตร์”]]
พ.ศ. 2547 ได้รับอนุมัติให้เปิดสอนในหลักสูตรศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต แบ่งเป็น 3 แขนงวิชาคือ 1.สาขาการบริหารทางวัฒนธรรม 2.สาขาวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว 3.สาขาการวิจัยทางวัฒนธรรม พ.ศ. 2548 ได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยให้เปิดสอนในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาวัฒนธรรมศาสตร์ และสามารถเปิดรับนิสิตรุ่นแรกระดับปริญญาเอกในปี พ.ศ. 2554 หลักสูตรวัฒนธรรมศาสตร์ได้แยกเป็น [[คณะวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|“คณะวัฒนธรรมศาสตร์”]] (ปัจจุบันได้ยุบรวมกับคณะศิลปกรรมศาสตร์เป็น [[คณะศิลปกรรมศาสตร์และวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะศิลปกรรมศาสตร์และวัฒนธรรมศาสตร์]])


==ผู้อำนวยการ==
==ผู้อำนวยการ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:08, 27 สิงหาคม 2563

สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
The Research Institute of Northeastern Arts and Culture, Mahasarakham University
02msu color
ที่ตั้ง
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ตำบลตลาด อำเภอเมือง
จังหวัดมหาสารคาม
ข้อมูล
สถาปนา22 กรกฎาคม พ.ศ. 2529
หน่วยงานกำกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ผู้อำนวยการรองศาสตราจารย์ ดร.ปฐม หงษ์สุวรรณ
เว็บไซต์rinac.msu.ac.th/

สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (อังกฤษ: The Research Institute of Northeastern Arts and Culture, Mahasarakham University) เป็นสถาบันหนึ่งในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เปิดขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พัฒนามาจากศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ประวัติ

สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน เริ่มก่อตั้งในนาม ศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีที่ตั้งอยู่ ณ ภาควิชาศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒวิทยาเขตมหาสารคาม จนกระทั่งวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ อนุมัติในหลักการให้จัดตั้งเป็น “สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน” และในวันที่ 12 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน ทบวงมหาวิทยาลัยประกาศให้ “ศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” เป็น “สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน” โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษเล่ม 103 ตอนที่ 198 หน้า 9-10 ลงวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529 ซึ่งถือเป็นหน่วยงานภายในของมหาวิทยาลัยมหาสารคามที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ[1]

พ.ศ. 2547 ได้รับอนุมัติให้เปิดสอนในหลักสูตรศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต แบ่งเป็น 3 แขนงวิชาคือ 1.สาขาการบริหารทางวัฒนธรรม 2.สาขาวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว 3.สาขาการวิจัยทางวัฒนธรรม พ.ศ. 2548 ได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยให้เปิดสอนในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาวัฒนธรรมศาสตร์ และสามารถเปิดรับนิสิตรุ่นแรกระดับปริญญาเอกในปี พ.ศ. 2554 หลักสูตรวัฒนธรรมศาสตร์ได้แยกเป็น “คณะวัฒนธรรมศาสตร์” (ปัจจุบันได้ยุบรวมกับคณะศิลปกรรมศาสตร์เป็น คณะศิลปกรรมศาสตร์และวัฒนธรรมศาสตร์)

ผู้อำนวยการ

ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มีผู้อำนวยการ ตามวาระ ดังนี้[2]

ลำดับ รายนาม ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง
1 อาจารย์อาคม วรจินดา พ.ศ. 2529 - 2538
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์มุณี พันทวี พ.ศ. 2538 - 2542
3 อาจารย์อาคม วรจินดา พ.ศ. 2542 - 2546
4 ดร.ทรงคุณ จันทจร พ.ศ. 2546 - 2550
5 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงคุณ จันทจร พ.ศ. 2550 - 2554
6 รองศาสตราจารย์ ดร.ปฐม หงษ์สุวรรณ พ.ศ. 2554 - ปัจจุบัน

อ้างอิง