ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซีเอ็มพังก์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
ลบภาพ "Cm-Punk-2.jpg", ซึ่งถูกลบที่คอมมอนส์โดย Yann เพราะ Missing essential information such as license, permission
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
|name = ซีเอ็ม พังค์
|name = ซีเอ็ม พังค์
|names = '''ซีเอ็ม พังค์''' <small>(CM Punk)</small>
|names = '''ซีเอ็ม พังค์''' <small>(CM Punk)</small>
|image =
|image = CM Punk Nexus .jpg
|image_size =
|image_size =
|img_capt =
|img_capt =
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
|real_height =
|real_height =
|real_weight =
|real_weight =
|birth_date = [[26 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1978]] (อายุ 32 ปี)
|birth_date = {{Birth date and age|1978|10|26}}
|birth_place = [[ชิคาโก, อิลลินอยส์]]
|birth_place = [[ชิคาโก, อิลลินอยส์]]
|death_date =
|death_date =
บรรทัด 66: บรรทัด 66:


[[ไฟล์:CM Punk as WWE Champion.jpg|thumb|left|ซีเอ็ม พังค์ กับ [[แชมป์โลก WWE]]]]
[[ไฟล์:CM Punk as WWE Champion.jpg|thumb|left|ซีเอ็ม พังค์ กับ [[แชมป์โลก WWE]]]]
ในศึก RAW ต่อมา '''ซีเอ็ม พังค์''' พูดจาด่า ทั้ง WWE, จอห์น ซีนา และอีกหลายๆคนร่วมทั้ง ประธานบริษัท WWE และ CEO ของ WWE [[วินซ์ แมคแมน]] จนถูกตัดเสียงไมโครโฟน ซึ่งเป็นการตัดสินใจของ วินซ์ แล้วปิดรายการเป็นในทันที ซึ่งรายงานล่าสุดเป็นรายงานว่า '''ซีเอ็ม พังค์''' ถูกระงับอย่างไม่มีกำหนดโดย WWE<ref>{{cite web|url=http://www.wwe.com/shows/raw/2011-06-27/mcmahon-suspends-punk|title=WWE Chairman Vince McMahon suspends CM PUNK|publisher[[WWE]]!accessdate=2011-06-28}}</ref> ต่อมา วินซ์ แมคแมน ให้มีแมตซ์การปล้ำระหว่าง จอห์น ซีนา กับ '''ซีเอ็ม พังค์''' อีกครั้งโดยมีข้อแม้ว่า ถ้า '''ซีเอ็ม พังค์''' ชนะ '''ซีเอ็ม พังค์''' จะลาออกจาก WWE พร้อมกับเข็มขัดแชมป์ WWE และ จอห์น ซีนา ก็ต้องออกจาก WWE อีกด้วย และสุดท้าย '''ซีเอ็ม พังค์''' ก็เป็นฝ่ายเอาชนะ จอห์น ซีนา และคว้าแชมป์โลก WWE มาได้สำเร็จ หลังแมตช์ วินซ์ แมคแมน รีบเดินไปที่โต๊ะผู้บรรยายแล้วต่อสายเรียก [[อัลเบอร์โต เดล รีโอ]] ให้ออกมาใช้กระเป๋าซะ เดล รีโอ วิ่งออกมาพร้อมกระเป๋ามันนีอินเดอะแบงก์ แต่โดน '''ซีเอ็ม พังค์''' เตะก้านคอร่วง '''ซีเอ็ม พังค์''' ปีนที่กั้นคนดูหนีออกจากสนามไปท่ามกลางผู้ชมพร้อมกับเข็มขัดแชมป์ WWE
ในศึก RAW ต่อมา '''ซีเอ็ม พังค์''' พูดจาด่า ทั้ง WWE, จอห์น ซีนา และอีกหลายๆคนร่วมทั้ง ประธานบริษัท WWE และ CEO ของ WWE [[วินซ์ แมคแมน]] จนถูกตัดเสียงไมโครโฟน ซึ่งเป็นการตัดสินใจของ วินซ์ แล้วปิดรายการเป็นในทันที ซึ่งรายงานล่าสุดเป็นรายงานว่า '''ซีเอ็ม พังค์''' ถูกระงับอย่างไม่มีกำหนดโดย WWE<ref>{{cite web|url=http://www.wwe.com/shows/raw/2011-06-27/mcmahon-suspends-punk|title=WWE Chairman Vince McMahon suspends CM PUNK|publisher[[WWE]]!accessdate=2011-06-28}}</ref> ต่อมา วินซ์ แมคแมน ให้มีแมตช์การปล้ำระหว่าง จอห์น ซีนา กับ '''ซีเอ็ม พังค์''' อีกครั้งโดยมีข้อแม้ว่า ถ้า '''ซีเอ็ม พังค์''' ชนะ '''ซีเอ็ม พังค์''' จะลาออกจาก WWE พร้อมกับเข็มขัดแชมป์ WWE และ จอห์น ซีนา ก็ต้องออกจาก WWE อีกด้วย และสุดท้าย '''ซีเอ็ม พังค์''' ก็เป็นฝ่ายเอาชนะ จอห์น ซีนา และคว้าแชมป์โลก WWE มาได้สำเร็จ หลังแมตช์ วินซ์ แมคแมน รีบเดินไปที่โต๊ะผู้บรรยายแล้วต่อสายเรียก [[อัลเบอร์โต เดล รีโอ]] ให้ออกมาใช้กระเป๋าซะ เดล รีโอ วิ่งออกมาพร้อมกระเป๋ามันนีอินเดอะแบงก์ แต่โดน '''ซีเอ็ม พังค์''' เตะก้านคอร่วง '''ซีเอ็ม พังค์''' ปีนที่กั้นคนดูหนีออกจากสนามไปท่ามกลางผู้ชมพร้อมกับเข็มขัดแชมป์ WWE


==เกี่ยวกับมวยปล้ำ==
==เกี่ยวกับมวยปล้ำ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:38, 25 กรกฎาคม 2554

ซีเอ็ม พังค์
เกิด (1978-10-26) 26 ตุลาคม ค.ศ. 1978 (45 ปี)
ชิคาโก, อิลลินอยส์
ที่พักล็อกพอร์ต, อิลลินอยส์
เว็บไซต์CMPunk.com
ประวัติมวยปล้ำอาชีพ
ชื่อบนสังเวียนซีเอ็ม พังค์ (CM Punk)
ส่วนสูง6 ft 1 in (1.85 m)
น้ำหนัก222 lb (101 กก)
มาจากชิคาโก, อิลลินอยส์
ฝึกหัดโดยเอส สตีล
แดนนี โดมิเนียน
เควิน ควิน
เดฟ เทเลอร์
เดฟ ฟินเลย์
วิลเลียม รีกัล
เปิดตัวค.ศ. 1999

ฟิลิปล์ แจ็ค บรูคส์[1] (อังกฤษ: Phillip Jack Brooks) เกิดวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1978[2] ในนามสังเวียนมวยปล้ำมีชื่อว่า ซีเอ็ม พังค์ เป็นนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน ปัจจุบันเซ็นสัญญาให้กับสมาคม เวิลด์เรสต์ลิงเอ็นเตอร์เทนเมนต์ หรือ ดับเบิลยูดับเบิลยูอี ในค่ายสังกัด รอว์

ประวัติในสังเวียนมวยปล้ำ

เวิลด์เรสต์ลิงเอ็นเตอร์เทนเมนต์ (2006 - ปัจจุบัน)

ซีเอ็ม พังค์ เป็นแชมป์โลก 4 สมัย ซึ่งสมัยแรกนั้นเป็นแชมป์โลกของสมาคม ROH เมื่อย้ายมาอยู่ WWE ก็เคยได้ทั้ง แชมป์โลก ECW และ แชมป์โลกเฮฟวี่เวท ตามด้วย แชมป์โลกแทคทีม จับคู่กับ โคฟี คิงส์ตัน และ แชมป์อินเตอร์คอนติเนนทัล ทำให้เขากลายเป็น แชมป์ Triple Crown คนที่ 19 ของ WWE นอกจากนี้ ซีเอ็ม พังค์ ยังเป็นผู้ชนะในแมตช์การปล้ำไต่บันไดที่มีชื่อว่า Money In The Bank เพื่อชิงสัญญาการชิงแชมป์โลกที่ไหน เมื่อไหร่ ก็ได้ ในศึก เรสเซิลเมเนีย 2 ปีซ้อน[3]

อีซีดับเบิลยู (ดับเบิลยูดับเบิลยูอี) (2006 - 2008)

ปี 2006

ซีเอ็ม พังค์ ได้ปล้ำแมตช์แรกของ WWE วันที่ 24 มิถุนายน ในศึก HouseShow ของ ECW กับ สตีเว่น ริชาร์ด และสามารถเอาชนะไปได้สำเร็จ[4] และเปิดตัวครั้งแรกอย่างเป็นทางการในวันที่ 4 กรกฎาคม จากนั้น ซีเอ็ม พังค์ ก็สามารถล้มนักมวยปล้ำใน ECW ได้หลายคน ได้แก่ จัสติน เครดิเบิล, ซี ดับเบิลยู แอนเดอร์สัน และ ชานนอน มัวร์[5] และอีกทั้งยังเปิดศึกกับ ไมค์ น็อกซ์ ในการแย่ง เคลลี เคลลี แฟนสาวของ ไมค์ น็อกซ์ อีกด้วย[6][7] ในศึก เซอร์ไวเวอร์ ซีรีส์ 2006 ซีเอ็ม พังค์ ได้เข้าร่วมทีมกับ ดี-เจเรเนชั่น เอ็กซ์ (ทริปเปิล เอช และ ชอว์น ไมเคิลส์) สามารถเอาชนะทีม เรด อาร์เคโอ (เอดจ์ และ แรนดี ออร์ตัน) ไปได้สำเร็จ[8] ต่อมา ซีเอ็ม พังค์ ได้เข้าร่วมศึก ดีเซมเบอร์ ทู ดิสเมมเบอร์ ในแมตช์ เอ็กซ์ตรีม อิลิมิเนชั่น แชมเบอร์ ชิงแชมป์โลก ECW โดย ซีเอ็ม พังค์ จะต้องเจอกับ บิ๊กโชว์, ร็อบ แวน แดม, เทสต์, ฮาร์ดคอร์ ฮอลลี และ บ็อบบี แลชลีย์ แต่ก็ไม่สามารถคว้าแชมป์มาได้[9]

ปี 2007

ซีเอ็ม พังค์ ได้กลายเป็นคนเลว เข้าร่วมกลุ่มกับทีม นิว บรีด[10] ที่กำลังเปิดศึกกับทีม อีซีดับเบิลยู ออริจินัล[11][12] แต่อยู่ได้เพียงอาทิตย์เดียวก็หันกลับไปอยู่กับ อีซีดับเบิลยู ออริจินัล และกลับมาเป็นคนดีอีกครั้ง และยังสามารถเอาชนะ นิว บรีด[13] ในแมตซ์แทคทีม 6 คน ในการจับคู่ต่อสู้ทุ่มใส่โต๊ะ โดย ซีเอ็ม พังค์ จับคู่กับ ทอมมี ดรีมเมอร์ และ เดอะ แซนด์แมน[14]

ปี 2008
ซีเอ็ม พังค์ กับ กระเป๋า Money In The Bank

ซีเอ็ม พังค์ ก็สามารถชนะแมตช์ไต่บันไดชิงกระเป๋า Money In The Bank มาได้ ในศึก เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 24[15]

รอว์ (2008 - 2009)

ปี 2008

ในศึก รอว์ ต่อมา[16] ซีเอ็ม พังค์ ก็สามารถคว้าแชมป์โลกเฮฟวี่เวท มาได้จากการใช้สิทธิ์ Money In The Bank โดยการเอาชนะ เอดจ์ หลังจากถูก บาติสตา ลอบทำร้าย จนอยู่ในสภาพไม่พร้อมปล้ำ

สแมคดาวน์ (2009 - 2010)

ปี 2009

ซีเอ็ม พังค์ ก็สามารถคว้าแชมป์โลกเฮฟวี่เวท กลับมาได้จากการใช้สิทธิ์ Money In The Bank กระชากแชมป์จาก เจฟฟ์ ฮาร์ดี ที่เพิ่งได้แชมป์มาจาก เอดจ์ ในศึก เอ็กซ์ตรีมรูลส์ (2009) อีกด้วย[17] แต่ก็เสียแชมป์ให้กับ ดิอันเดอร์เทเกอร์ ต่อมา ได้กลายมาเป็นคนเลวอีกครั้ง และก่อตั้งกลุ่ม สเตรจต์เอดจ์โซไซตี้[18]

ปี 2010
สเตรจต์เอดจ์โซไซตี้:เซเรน่า (ซ้าย), ซีเอ็ม พังค์ (กลาง), ลุค กาล์โลว์ (ขวา)

ในศึก Over The Limit (2010) ซีเอ็ม พังค์ จะต้องเจอกับ เรย์ มิสเตริโอ โดยถ้า ซีเอ็ม พังค์ ชนะ เรย์ มิสเตริโอ จะต้องเข้ามาอยู่กลุ่ม สเตรจต์เอดจ์โซไซตี้ แต่ถ้า ซีเอ็ม พังค์ แพ้ ซีเอ็ม พังค์ ต้องโดนตัดผม สุดท้าย ซีเอ็ม พังค์ เป็นฝ่ายแพ้จึงถูก เรย์ มิสเตริโอ ตัดผมทำให้ ซีเอ็ม พังค์ หัวล้านและต้องใส่หน้ากากปล้ำ[19] ต่อมา ซีเอ็ม พังค์ ถูก บิ๊กโชว์ จับถอดหน้ากากจนทำให้เห็นหัวล้านของ ซีเอ็ม พังค์ ทำให้ ซีเอ็ม พังค์ แค้นมาก และเจอกันในศึก ซัมเมอร์สแลม (2010) ในแมตช์การปล้ำ Handicap Match 3 รุม 1 โดย บิ๊กโชว์ เป็นฝ่ายถูก สเตรจต์เอดจ์โซไซตี้ รุม แต่ก็เป็นฝ่ายพ่ายแพ้ให้กับ บิ๊กโชว์ ไปในที่สุด[20] ต่อมา ในศึก ไนท์ออฟแชมเปียนส์ (2010) ซีเอ็ม พังค์ ท้าเจอกับ บิ๊กโชว์ อีกครั้ง แต่ ซีเอ็ม พังค์ ก็เป็นฝ่ายพ่ายแพ้ให้กับ บิ๊กโชว์ ไปในที่สุด[21]

รอว์ (2010 - ปัจจุบัน)

ปี 2010

กลุ่ม สเตรจต์เอดจ์โซไซตี้ ได้แตกกลุ่มไปเป็นที่เรียบร้อย ซีเอ็ม พังค์ ก็ได้ย้ายมาสังกัด RAW ต่อมา ในศึก แบรกกิ้ง ไรท์ส (2010) ซีเอ็ม พังค์ ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกทีมฝั่ง RAW จะต้องเจอกับทีมฝั่ง SmackDown สุดท้ายทีมฝั่ง RAW ก็แพ้ให้กับทีม SmackDown ไปในที่สุด[22] ต่อมา ซีเอ็ม พังค์ มีอาการบาดเจ็บที่สะโพก ทำให้ ซีเอ็ม พังค์ มาเป็นโฆษกผู้บรรยายอยู่ข้างเวทีชั่วคราว[23][24] ต่อมา ซีเอ็ม พังค์ ก็ได้เปิดศึกอยู่กับ จอห์น ซีนา[25] และล่าสุด ซีเอ็ม พังค์ ได้กลายเป็นหัวหน้ากลุ่ม เดอะเน็กซัส แทน เวด บาร์เร็ตต์ ไปในที่สุด[26]

ปี 2011
ซีเอ็ม พังค์ เป็นหัวหน้ากลุ่มเดอะนิวเน็กซัส

ในศึก รอยัลรัมเบิล (2011) ซีเอ็ม พังค์ ได้ไปก่อกวนการปล้ำของ แรนดี ออร์ตัน ในการชิงแชมป์โลก WWE กับ เดอะ มิซ ทำให้ แรนดี ออร์ตัน แพ้ให้กับ เดอะ มิซ ไปในที่สุด[27] และในคืนเดียวกัน ซีเอ็ม พังค์ ได้เข้าร่วมในแมตช์ รอยัลรัมเบิล โดยออกมาเป็นคนแรก แต่สุดท้าย ซีเอ็ม พังค์ ก็ไม่ได้เป็นผู้ชนะ ต่อมา ในศึก อิลิมิเนชั่น แชมเบอร์ (2011) ซีเอ็ม พังค์ จะต้องเจอกับ จอห์น ซีนา, แรนดี ออร์ตัน, จอห์น มอร์ริสัน, อาร์-ทรูธ และ เชมัส ในแมตช์การปล้ำ Elimination Chamber โดยถ้าใครชนะก็จะได้เป็นผู้ท้าชิงอันดับ 1 ในการชิงแชมป์โลก WWE ในศึก เรสเซิลเมเนีย สุดท้ายกลายเป็น จอห์น ซีนา ที่เป็นฝ่ายชนะ ต่อมา ซีเอ็ม พังค์ ได้เปิดศึกกับ แรนดี ออร์ตัน และท้าเจอกันในศึก เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 27 โดยจะไม่มีกลุ่ม เดอะนิวเน็กซัส อยู่ข้างเวทีด้วย และสุดท้าย ซีเอ็ม พังค์ ก็เป็นฝ่ายพ่ายแพ้ให้กับ แรนดี ออร์ตัน ไปในที่สุด[28]

ในศึก เอ็กซ์ตรีมรูลส์ (2011) ซีเอ็ม พังค์ จะต้องเจอกับ แรนดี ออร์ตัน อีกครั้ง ในแมตซ์การปล้ำ Last Man Standing Match สุดท้าย ซีเอ็ม พังค์ ก็เป็นฝ่ายพ่ายแพ้ให้กับ แรนดี ออร์ตัน เป็นครั้งที่ 2 ติดต่อกัน ต่อมา ในศึก โอเวอร์ เดอะ ลิมิต (2011) ซีเอ็ม พังค์ จะต้องจับคู่กับ เมสัน ไรอัน เจอกับ บิ๊กโชว์ และ เคน ในการชิงแชมป์ WWE Tag Team แต่สุดท้ายก็ไม่สามารถคว้าแชมป์มาได้ ต่อมา ในศึก แคปิเทล พูนิชเมนท์ ซีเอ็ม พังค์ จะต้องเจอกับ เรย์ มิสเตริโอ สุดท้าย ซีเอ็ม พังค์ ก็เอาชนะไปได้สำเร็จ ในศึก RAW ต่อมา ซีเอ็ม พังค์ จะต้องเจอกับ เรย์ มิสเตริโอ และ อัลเบอร์โต เดล รีโอ ในแมตช์การปล้ำ 3 เส้า โดยถ้าใครชนะก็จะได้เป็นผู้ท้าชิงอันดับ 1 ในการชิงแชมป์โลก WWE กับ จอห์น ซีนา ในศึก มันนีอินเดอะแบงก์ (2011) สุดท้าย ซีเอ็ม พังค์ ก็สามารถเอาชนะ เรย์ และ เดล รีโอ มาได้สำเร็จ ทำให้ ซีเอ็ม พังค์ ได้เป็นผู้ท้าชิงอันดับ 1 ในการชิงแชมป์โลก WWE

ซีเอ็ม พังค์ กับ แชมป์โลก WWE

ในศึก RAW ต่อมา ซีเอ็ม พังค์ พูดจาด่า ทั้ง WWE, จอห์น ซีนา และอีกหลายๆคนร่วมทั้ง ประธานบริษัท WWE และ CEO ของ WWE วินซ์ แมคแมน จนถูกตัดเสียงไมโครโฟน ซึ่งเป็นการตัดสินใจของ วินซ์ แล้วปิดรายการเป็นในทันที ซึ่งรายงานล่าสุดเป็นรายงานว่า ซีเอ็ม พังค์ ถูกระงับอย่างไม่มีกำหนดโดย WWE[29] ต่อมา วินซ์ แมคแมน ให้มีแมตช์การปล้ำระหว่าง จอห์น ซีนา กับ ซีเอ็ม พังค์ อีกครั้งโดยมีข้อแม้ว่า ถ้า ซีเอ็ม พังค์ ชนะ ซีเอ็ม พังค์ จะลาออกจาก WWE พร้อมกับเข็มขัดแชมป์ WWE และ จอห์น ซีนา ก็ต้องออกจาก WWE อีกด้วย และสุดท้าย ซีเอ็ม พังค์ ก็เป็นฝ่ายเอาชนะ จอห์น ซีนา และคว้าแชมป์โลก WWE มาได้สำเร็จ หลังแมตช์ วินซ์ แมคแมน รีบเดินไปที่โต๊ะผู้บรรยายแล้วต่อสายเรียก อัลเบอร์โต เดล รีโอ ให้ออกมาใช้กระเป๋าซะ เดล รีโอ วิ่งออกมาพร้อมกระเป๋ามันนีอินเดอะแบงก์ แต่โดน ซีเอ็ม พังค์ เตะก้านคอร่วง ซีเอ็ม พังค์ ปีนที่กั้นคนดูหนีออกจากสนามไปท่ามกลางผู้ชมพร้อมกับเข็มขัดแชมป์ WWE

เกี่ยวกับมวยปล้ำ

ซีเอ็ม พังค์ เล่นงาน เคน ด้วยท่า Go To Sleep
  • ท่าไม้ตาย
    • Anaconda Vise
    • GTS – Go To Sleep (Fireman's carry dropped into a knee strike to the face) – 2007–ปัจจุบัน
  • ท่าเอกลักษณ์
    • Arm wrench followed by stepping a leg over the wrenched arm and performing a mule kick with the leg below the opponent's face
    • Diving crossbody
    • Double underhook backbreaker
    • Jumping hammerlock twisted into a short-range lariat
    • One-handed bulldog
    • Rope hung arm trap can opener
    • Shining wizard
    • Slingshot somersault senton
    • Snap scoop powerslam
    • Spinning wheel kick
    • Springboard clothesline
    • Step-up enzuigiri
    • Suicide dive
    • Tilt-a-whirl backbreaker
  • ฉายา และ ชื่ออื่นๆ
    • "Mr. Money in the Bank"
    • "The Second City Saint"
    • "The Straight-Edge Savior"
    • "The Second City Savior"
  • เพลงเปิดตัว
    • "This Fire Burns" โดย Killswitch Engage
    • "We Are One" โดย 12 Stones (2011 - ปัจจุบัน; คู่กับ เน็กซัส)

ผลงานทั้งหมด

ซีเอ็ม พังค์ กับ แชมป์โลกเฮฟวี่เวท
ซีเอ็ม พังค์ กับ แชมป์โลก ECW
  • Independent Wrestling Association Mid-South
    • IWA Mid-South Heavyweight Championship (5 สมัย)
    • IWA Mid-South Light Heavyweight Championship (2 สมัย)
  • International Wrestling Cartel
    • IWC Heavyweight Championship (1 สมัย)
  • Mid-American Wrestling
    • MAW Heavyweight Championship (1 สมัย)
  • NWA Cyberspace
    • NWA Cyberspace Tag Team Championship (1 สมัย) – คู่กับ จูลิโอ ดิเนโร
  • NWA Revolution
    • NWA Revolution Heavyweight Championship (1 สมัย)
  • Ohio Valley Wrestling
    • OVW Heavyweight Championship (1 สมัย)
    • OVW Southern Tag Team Championship (1 สมัย) – คู่กับ เซท สกายไฟร์
    • OVW Television Championship (1 สมัย)
  • Pro Wrestling Illustrated
    • PWI ranked him #3 of the top 500 นักมวยปล้ำซิงเกิ้ล ใน the PWI 500 ในปี 2010
  • Ring of Honor
    • ROH Tag Team Championship (2 สมัย) – คู่กับ โคลต์ คาบานา
    • ROH World Championship (1 สมัย)
  • St. Paul Championship Wrestling
    • SDW Northern States Television Championship (2 สมัย)
    • SPCW Northern States Light Heavyweight Championship (1 สมัย)
  • World Wrestling Entertainment
    • ECW Championship (1 สมัย)
    • WWE Championship (1 สมัย)
    • World Heavyweight Championship (3 สมัย)
    • World Tag Team Championship (1 สมัย) – คู่กับ โคฟี คิงส์ตัน
    • WWE Intercontinental Championship (1 สมัย)
    • Mr. Money in the Bank (2008, 2009)
    • สแลมมีอวอร์ด for "OMG" Moment of the Year (2008)
    • สแลมมีอวอร์ด for Shocker of the Year (2009)
    • สแลมมีอวอร์ด for Despicable Me (2010)
    • Nineteenth Triple Crown Champion
  • Wrestling Observer Newsletter

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "Latest Status Info". United States Patent and Trademark Office. 2008-08-07. สืบค้นเมื่อ 2008-08-17.
  2. "CM Punk profile". NNDB.com. สืบค้นเมื่อ 2007-09-22.
  3. Cohen, Eric. "Money in the Bank". about.com. สืบค้นเมื่อ 2010-02-24.
  4. Magee, Bob (2006-06-25). "6/24 WWE at ECW Arena". Pro Wrestling Torch. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-07-03. สืบค้นเมื่อ 2006-09-26.
  5. Hoffman, Brett (2006-09-12). "Garden Showstopper". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2006-10-02.
  6. Tello, Craig (2006-11-07). "Messiah's revelations". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2007-04-10.
  7. Tello, Craig (2006-11-14). "Lashley unleashed on ECW". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2007-04-10.
  8. Dee, Louis (2006-11-26). "D-Xtreme dominance". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2007-04-10.
  9. Tello, Craig (2006-12-03). "Mission accomplished". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2007-04-10.
  10. Robinson, Bryan (2007-04-10). "New Breed gets the straight edge". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2007-04-11.
  11. Tello, Craig (2007-03-06). "Rattlesnake's venomous visit". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2007-03-10.
  12. Robinson, Bryan (2007-03-21). "Masterpiece theater, Lashley-style". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2007-04-10.
  13. Robinson, Bryan (2007-04-24). "Making painful statements". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2007-05-01.
  14. Rote, Andrew (2007-06-03). "CM Punk splinters the New Breed". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2008-09-08.
  15. "WWE WrestleMania XXIV Results". Pro-Wrestling Edge. สืบค้นเมื่อ 2008-04-06.
  16. Sitterson, Aubrey (2008-06-23). "A Draft Disaster". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2008-06-25.
  17. Medalis, Kara A. (2009-06-07). extremerules/history/2009/matches/10300540/results/ "Results:Samoan Goes To Sleep". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2011-01-30. {{cite web}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  18. Burdick, Michael (2009-11-27). "Hungry Animal heading to WWE TLC". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2011-01-30.
  19. Bishop, Matt (2010-05-23). "Batista quits to end disappointing Over The Limit". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ 2010-11-27.
  20. McNichol, Rob (2010-08-16). "SummerSlam is only lukewarm". The Sun. สืบค้นเมื่อ 2010-11-27.
  21. Tylwalk, Nick (2010-09-20). "Few gimmicks, more title changes at Night of Champions". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ 2010-11-27.
  22. Tylwalk, Nick (2010-10-12). "Raw: Team Raw assembles while Cena stews". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ 2010-11-27.
  23. Shaw, Toby (2010-11-02). "WWE hit by dual injury blow". The Sun. สืบค้นเมื่อ 2010-11-27.
  24. McNichol, Rob (2010-11-23). "Miz wins title on awesome Raw". The Sun. สืบค้นเมื่อ 2010-11-27.
  25. Bishop, Matt (2010-12-21). "Smackdown: Ziggler takes Cena to the limit again, CM Punk makes impact". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ 2011-01-05.
  26. Plummer, Dale (2010-12-21). "RAW: No Nexus, no problem". Slam! Sports. Canadian Online Explorer. สืบค้นเมื่อ 2011-01-05.
  27. Adkins, Greg (2011-01-03). "Steel resolve". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2011-01-30.
  28. . World Wrestling Entertainment http://www.wwe.com/shows/wrestlemania/wrestlemaniaxxvii/randy-orton-cm-punk. {{cite web}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)
  29. "WWE Chairman Vince McMahon suspends CM PUNK". {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |publisherWWE!accessdate= ถูกละเว้น (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link FA