ข้ามไปเนื้อหา

เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 24

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 24
สมาคมเวิลด์เรสต์ลิงเอ็นเตอร์เทนเมนต์
วันที่30 มีนาคม 2008
เมืองออร์แลนโด, รัฐฟลอริดา
สถานที่ซิตรัส โบวล์ สเตเดียม
ผู้ชม74,635 คน
แท็กไลน์The Biggest WrestleMania Under the Sun
ลำดับเหตุการณ์ Pay-per-view
← ก่อนหน้า
โนเวย์เอาท์ (2008)
ถัดไป →
แบคแลช (2008)
ลำดับเหตุการณ์เรสเซิลเมเนีย
← ก่อนหน้า
เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 23
ถัดไป →
เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 25

เรสเซิลมาเนีย XXIV จัดเป็นรายการ Pay Per View ครั้งที่ 24 ของWrestleMania ที่เป็นศึกที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของ WWE โดยจัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2008 โดยเป็นศึกที่รวมการแสดงนักมวยปล้ำแต่ละค่ายของ WWE เอาไว้ทั้งหมด โดยก่อนเริ่มศึกได้มีการร้องเพลง America the Beautiful ก่อนที่จะเริ่มรายการอีกด้วย[1]

การสร้างสรรค์

[แก้]
ภาพบรรยากาศ เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 24 ก่อนตกค่ำ
ภาพบรรยากาศ เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 24 มีผู้เข้าไปชมในสนามถึง 74,635 คน และเป็นการทำลายสถิติผู้ชมของสนาม
Other on-screen talent[2]
Role: Name:
ผู้บรรยาย Jonathan Coachman (SmackDown)
Michael Cole (SmackDown)
Jerry Lawler (Raw)
Jim Ross (Raw)
Joey Styles (ECW)
Tazz (ECW)
Carlos Cabrera (Spanish)
Hugo Savinovich (Spanish)
ผู้สัมภาษณ์ Mike Adamle
Todd Grisham
พิธีกร Kim Kardashian
ผู้ประกาศ Tony Chimel (ECW)
Armando Estrada (ECW Championship)
Howard Finkel (WWE Hall of Fame)
Lilian Garcia (Raw)
Theodore Long (Raw vs. SmackDown)
William Regal (Raw vs. SmackDown)
Justin Roberts (SmackDown)
กรรมการ Scott Armstrong (ECW)
Mike Posey (ECW)
John Cone (Raw)
Mike Chioda (Raw)
Jack Doan (Raw)
Marty Elias (Raw)
Mickie Henson (SmackDown)
Jim Korderas (SmackDown)
Chad Patton (Raw)
Charles Robinson (SmackDown)

เรสเซิลมาเนีย ครั้งนี้เป็นครั้งที่ 2 ด้วยกันที่ไม่ได้จัดในสนามกีฬาในร่ม แต่จัดในสนามกีฬากลางแจ้ง โดยมีผู้ซื้อบัตรเขามาชมศึกนี้ถึง 74,635 คน ถือว่าเป็นสถิติใหม่ของสนาม ซิตรัส โบวล์ สเตเดียม ที่ไปจัดอีกด้วย โดยมียอดการสั่งซื้อรายการที่ 1,058,000 ก๊อปปี้ โดยศึกนี้สร้างรายได้ให้สมาคม เวิลด์เรสต์ลิงเอ็นเตอร์เทนเมนต์ เป็นจำนวนเงิน 51.1 ล้านเหรียญดอลล่าร์สหรัฐ โดยแบ่งเป็นเงินจากการขายตั๋ว 5.85 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ และแบ่งจ่ายเป็นเงินโบนัสที่นักมวยปล้ำได้รับ ค่าอุปกรณ์ต่างๆ เป็นจำนวนเงินอีกประมาณ 25 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ รวมกำไรทั้งสิ้นประมาณ 21 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ

เบื้องหลัง

[แก้]

ในช่วงต้นปี วินซ์ แม็กแมน ได้ออกมาพูดกับ ริก แฟลร์ ว่า ถ้าในการปล้ำครั้งต่อไป ริก แฟลร์ แพ้ ริก แฟลร์ จะต้องออกจาก WWE ทันที จากนั้น วินซ์ก็จัดแมตช์การปล้ำต่างๆนานาให้ริก แต่ริกก็ยังสามารถเอาตัวรอดชนะมาได้ จนในศึก เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 24 ริก แฟลร์ แชมป์โลก 16 สมัยที่ยิ่งใหญ่ตลอดกาล จะต้องเจอกับ ชอว์น ไมเคิลส์[3]

ในรายการ รอว์ มีการคัดเลือกนักมวยปล้ำจากรอว์ ไปปล้ำกติกา Money In The Bank จำนวน 7 คน โดยมีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 7 คน โดยผู้ชนะจะสามารถท้าชิงแชมป์อะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ เวลาใดก็ได้

ด้านของ บิ๊กโชว์ ซึ่งได้ท้ากับนักมวยชื่อดัง ฟลอยด์ เมย์เวทเธอร์ จูเนียร์‎ เจอกัน ในศึก เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 24 ในแมตช์การปล้ำไม่มีกฎกติกาหรือไม่มีการจับแพ้ฟาวล์

ด้านของ เอดจ์ ซึ่งในศึก รอยัลรัมเบิล (2008) เอดจ์ต้องป้องกันแชมป์กับอดีตเพื่อนรัก เรย์ มิสเตริโอ ซึ่งเป็นผู้ชนะจากแมตซ์ Beat the clock Challenge แต่เอดจ์ก็ยังสามารถป้องกันแชมป์เอาไว้ได้จากการช่วยเหลือของวิคกี ส่งผลให้เรย์ต้องพักการปล้ำไปหลายเดือนเลยทีเดียว อย่างไรก็ตาม ดิอันเดอร์เทเกอร์ ซึ่งเป็นผู้ชนะจากแมตช์กรงเหล็ก อิลิมิเนชั่น แชมเบอร์ เพื่อหาผู้ท้าชิงแชมป์โลกเฮฟวี่เวท ในศึก เรสเซิลเมเนีย ก็ได้สิทธิ์ชิงแชมป์โลกกับ เอดจ์ ในศึก เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 24

ด้านของ จอห์น ซีนา ในศึก รอยัลรัมเบิล (2008) ซีนาได้กลับมาร่วมในแมตช์การปล้ำ รอยัลรัมเบิล ครั้งนี้ ซึ่งเขาสามารถเอาชนะ ทริปเปิล เอช และ บาทิสตา ในรอบ 3 คนสุดท้าย โดยการจับเหวี่ยงจนหมด เขาเป็นผู้ชนะเลิศ รอยัลรัมเบิล ที่ขึ้นมาเป็นคนที่ 30 เช่นเดียวกับ ดิอันเดอร์เทเกอร์ ที่ขึ้นมาเป็นคนที่ 30 เมื่อปี 2007 ต่อมา ในศึก โนเวย์เอาท์ (2008) ซีนาได้ขอท้าชิงแชมป์ WWE ล่วงหน้ากับ แรนดี ออร์ตัน เจ้าของตำแหน่ง สุดท้ายซีนาก็ไม่สามารถคว้าแชมป์ WWE กลับคืนมาได้ ซึ่งในคืนเดียวกัน ทริปเปิล เอช ได้เอาชนะในแมตช์อิลิมิเนชั่น แชมเบอร์ และได้สิทธิ์ไปชิงแชมป์ WWE กับ จอห์น ซีนา และ แรนดี ออร์ตัน ในศึก เรสเซิลเมเนีย ครั้งที่ 24[4][5][6][7][8][9][10][11][12][13]

ผล

[แก้]
ลำดับ กำหนด เวลา[1]
1D Kane ชนะโดยปราบ Mark Henry คนสุดท้าย[Note 1] Battle Royal to determine the #1 contender for the ECW Championship Unknown
2 John "Bradshaw" Layfield ชนะ Finlay (with Hornswoggle)[4] Belfast Brawl 08:43
3 CM Punk ชนะ Carlito, Chris Jericho, John Morrison, Mr. Kennedy, Montel Vontavious Porter and Shelton Benjamin[5] Money in the Bank ladder match 15:12
4 Batista (SmackDown) ชนะ Umaga (Raw)[6] Singles match 07:03
5 Kane ชนะ Chavo Guerrero (c)[7] Singles match for the ECW Championship 00:11[8]
6 Shawn Michaels ชนะ Ric Flair[9] Career Threatening match 20:34
7 Beth Phoenix and Melina (with Santino Marella) ชนะ Ashley and Maria[10][14][Note 2] Playboy BunnyMania Lumberjill match 05:00
8 Randy Orton (c) ชนะ John Cena and Triple H[11] Triple threat match for the WWE Championship 14:10
9 Floyd Mayweather Jr. ชนะ Big Show[15] No Disqualification match 11:40
10 The Undertaker ชนะ Edge (c) โดยซับมิสชั่น[13] Singles match for the World Heavyweight Championship 24:03
  • (c) – หมายถึงเจ้าของเข็มขัดแชมป์ก่อนเริ่มแข่งขัน
  • D – หมายถึงเป็นแมทช์การปล้ำก่อนรายการ
  1. ผู้เข้าร่วมอื่น: Deuce, Domino, Jim Duggan, Stevie Richards, Elijah Burke, The Miz, Shannon Moore, Jimmy Wang Yang, Jesse, Trevor Murdoch, Festus, The Brian Kendrick, Lance Cade, Kofi Kingston, Cody Rhodes, Jamie Noble, Chuck Palumbo, The Great Khali, Hardcore Holly, Tommy Dreamer, Snitsky, Val Venis
  2. The lumberjills were: Eve Torres, Cherry, Jillian Hall, Maryse, Katie Lea Burchill, Layla, Michelle McCool, Mickie James and Victoria

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Plummer, Dale (March 30, 2008). "Mayweather, Orton survive Mania; Edge, Flair don't". SLAM! Sports. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-25. สืบค้นเมื่อ April 8, 2008.
  2. "WrestleMania XXIV results". CompleteWWE.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-01. สืบค้นเมื่อ April 10, 2008.
  3. Clayton, Corey (2008-02-25). "A Showstopper for Orlando". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ 2008-03-10.
  4. 4.0 4.1 Zoldan, Ben (March 30, 2008). "JBL picks up brutal win in Belfast Brawl". World Wrestling Entertainment. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 2, 2008. สืบค้นเมื่อ April 8, 2008.
  5. 5.0 5.1 Clayton, Corey (March 30, 2008). "Perseverance makes Punk 'Mr. Money' in Orlando". World Wrestling Entertainment. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 5, 2008. สืบค้นเมื่อ April 8, 2008.
  6. 6.0 6.1 Dinan, Michael (March 30, 2008). "Animalistic bulldozing". World Wrestling Entertainment. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 5, 2008. สืบค้นเมื่อ April 10, 2008.
  7. 7.0 7.1 Murphy, Ryan (March 30, 2008). "Big Red champion". World Wrestling Entertainment. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 5, 2008. สืบค้นเมื่อ April 10, 2008.
  8. 8.0 8.1 Clapp, John (April 3, 2012). "A monstrous 11 seconds". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ April 5, 2012.
  9. 9.0 9.1 Robinson, Bryan (March 30, 2008). "The End". World Wrestling Entertainment. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 2, 2008. สืบค้นเมื่อ March 30, 2008.
  10. 10.0 10.1 Burdick, Michael (March 30, 2008). "Santino tamed by rabid Dogg". World Wrestling Entertainment. สืบค้นเมื่อ March 30, 2008.
  11. 11.0 11.1 Robinson, Bryan (March 30, 2008). "One-Man Dynasty Indeed?". World Wrestling Entertainment. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 2, 2008. สืบค้นเมื่อ March 30, 2008.
  12. Dee, Louie (March 30, 2008). "Show-n up". World Wrestling Entertainment. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 5, 2008. สืบค้นเมื่อ April 10, 2008.
  13. 13.0 13.1 Tello, Craig (March 30, 2008). "Sweet Sixteen". World Wrestling Entertainment. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 5, 2008. สืบค้นเมื่อ April 10, 2008.
  14. "WrestleMania attracts Snoop Dogg". Reuters. March 6, 2008. สืบค้นเมื่อ March 7, 2008.
  15. http://www.wwe.com/shows/wrestlemania/24/wrestlemaniaxxivphotos/mayweathervsshow

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]