ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นครรัฐวาติกัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wiwat Prasomthong (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
เพิ่มเติมเนื้อหาโดยแปลจากบทความภาษาอังกฤษ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |สำหรับ= |ดูที่=สันตะสำนัก |เปลี่ยนทาง=}}
{{ความหมายอื่น|เกี่ยวกับ= |สำหรับ= |ดูที่=สันตะสำนัก |เปลี่ยนทาง=}}
{{กล่องข้อมูล ประเทศ
{{กล่องข้อมูล ประเทศ
| native_name = ''{{small|Stato della Città del Vaticano}}'' <small>{{it icon}}</small>
| native_name = <small>''Stato della Città del Vaticano'' ([[ภาษาอิตาลี|อิตาลี]])</small>
| conventional_long_name = นครรัฐวาติกัน
| conventional_long_name = นครรัฐวาติกัน
| common_name = นครรัฐวาติกัน
| common_name = นครรัฐวาติกัน
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
| image_map = Location_of_the_Vatican_City_in_Europe.svg
| image_map = Location_of_the_Vatican_City_in_Europe.svg
| national_motto =
| national_motto =
| national_anthem = ''[[เพลงสดุดีพระสังฆราช (สดุดีพระสันตะปาปา)|Inno e Marcia Pontificale]]''<br /><small>({{lang-en|Pontifical Anthem and March}})</small><center>[[ไฟล์:United States Navy Band - Inno e Marcia Pontificale.ogg]]</center>
| national_anthem = ''[[เพลงสดุดีพระสังฆราช (สดุดีพระสันตะปาปา)|Inno e Marcia Pontificale]]''<br /><small>({{lang-en|Pontifical Anthem and March}})</small><br/><br/><center>[[ไฟล์:United States Navy Band - Inno e Marcia Pontificale.ogg]]</center>
| official_languages = [[ภาษาอิตาลี]]{{refn|group=lower-roman|name=fn1|ภาษาอิตาลีเป็นภาษาทางการโดยนิตินัยซึ่งปรากฏในย่อหน้าที่สองของ ''Legge sulle fonti del diritto'' และกฎหมายทุกฉบับเขียนขึ้นด้วยภาษาอิตาลี ส่วนภาษาอื่นที่ใช้ได้แก่[[ภาษาเยอรมัน]] [[ภาษาอังกฤษ]] [[ภาษาสเปน]] [[ภาษาฝรั่งเศส]] และ[[ภาษาโปรตุเกส]] ส่วนภาษาของ[[องครักษ์ชาวสวิส#องครักษ์ชาวสวิสของสันตะปาปา|องครักษ์ชาวสวิสของสันตะปาปา]]คือภาษาเยอรมัน}}
| official_languages = [[ภาษาอิตาลี]]<sup>2</sup>
| capital = นครวาติกัน ([[นครรัฐ]])
| capital = นครวาติกัน<sup>1</sup>
| latd = 41 |latm=54 |latNS=N |longd=12 |longm=27 |longEW=E
| latd = 41 |latm=54 |latNS=N |longd=12 |longm=27 |longEW=E
| largest_city = นครวาติกัน<sup>1</sup>
| largest_city = นครวาติกัน ([[นครรัฐ]])
| government_type = [[เทวาธิปไตย]]จากการเลือกตั้งและมีอำนาจสมบูรณ์
| government_type = [[เทวาธิปไตย]]จากการเลือกตั้งและมีอำนาจสมบูรณ์
| leader_title1 = [[พระสันตะปาปา|มุขนายก]]
| leader_title1 = [[พระสันตะปาปา|มุขนายก]]
| leader_name1 = [[สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส]]
| leader_name1 = [[สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส|สมเด็จพระสันตะปาปา<br/>ฟรานซิส]]
| leader_title2 = ประธาน[[สมณกรรมาธิการนครรัฐวาติกัน]]
| leader_title2 = ประธาน[[สมณกรรมาธิการนครรัฐวาติกัน|<br/>สมณกรรมาธิการ<br/>นครรัฐวาติกัน]]
| leader_name2 = พระคาร์ดินัล[[จูเซปเป มาร์เตลโล]]
| leader_name2 = พระคาร์ดินัล<br/>[[จูเซปเป มาร์เตลโล]]
| area_rank = 196
| area_rank = อันดับ 196
| area_magnitude = 1 E5
| area_magnitude = 1 E5
| area_km2 = 0.44
| area_km2 = 0.44
บรรทัด 27: บรรทัด 26:
| population_estimate = 1,000<ref name="factbook">{{cite web|url=https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/vt.html|title=Holy See (Vatican City)|work=CIA—The World Factbook}}</ref>
| population_estimate = 1,000<ref name="factbook">{{cite web|url=https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/vt.html|title=Holy See (Vatican City)|work=CIA—The World Factbook}}</ref>
| population_estimate_year = 2017
| population_estimate_year = 2017
| population_estimate_rank = 236th
| population_estimate_rank = อันดับ 236
| population_density_km2 = 2,272
| population_density_km2 = 2,272
| population_density_rank = 6th
| population_density_rank = อันดับ 6
| population_density_sq_mi = 5,882
| population_density_sq_mi = 5,882
| GDP_PPP =
| GDP_PPP =
บรรทัด 38: บรรทัด 37:
| sovereignty_type = [[เอกราช]]
| sovereignty_type = [[เอกราช]]
| sovereignty_note = จาก[[ราชอาณาจักรอิตาลี]]
| sovereignty_note = จาก[[ราชอาณาจักรอิตาลี]]
| established_event1 = [[สนธิสัญญาลาเตรัน]]
| established_event1 = [[สนธิสัญญาลาเตรัน|สนธิสัญญา<br/>ลาเตรัน]]
| established_date1 = 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2472
| established_date1 = 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2472
| currency = [[ยูโร]](€) <sup>3</sup>
| currency = [[ยูโร]] (€){{refn|group=lower-roman|name=fn2|ก่อนปี พ.ศ. 2545 ใช้[[ลีราวาติกัน]] (₤)}}
| currency_code = EUR
| currency_code = EUR
| country_code =
| country_code =
บรรทัด 48: บรรทัด 47:
| utc_offset_DST = +2
| utc_offset_DST = +2
| cctld = [[.va]]
| cctld = [[.va]]
| calling_code = 39{{refn|group=lower-roman|name=fn4|[[สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ|ITU-T]] กำหนดหมายเลข 379 ให้กับนครรัฐวาติกัน แต่นครรัฐนี้ก็ถูกรวมอยู่ในแผนการกำหนดเลขหมายของอิตาลีและใช้รหัสโทรศัพท์ 39 ของอิตาลี ตามด้วยรหัส 06 (สำหรับกรุงโรม) และ 698}}
| calling_code = 39<sup>4</sup>
| iso3166code = VA
| ISO_3166-1_alpha2 =
| drives_on = ขวา{{refn|group=lower-roman|name=fn3|ผู้เยี่ยมชมและนักท่องเที่ยวไม่ได้รับอนุญาตให้ขับรถภายในวาติกัน ซึ่งจะต้องได้รับอนุญาตเป็นการเฉพาะ โดยปกติจะอนุญาตเฉพาะผู้ที่ติดต่อธุระอย่างเป็นทางการในวาติกันเท่านั้น}}
| ISO_3166-1_alpha3 =
| ISO_3166-1_numeric =
| sport_code =
| sport_code =
| vehicle_code =
| vehicle_code =
| footnotes =
| footnotes = <sup>1</sup>วาติกันเป็น[[ประเทศ]]และ[[นครรัฐ]]แห่งหนึ่ง<br /><sup>2</sup>ภาษาอิตาลีเป็นภาษาทางการโดยนิตินัยซึ่งปรากฏในย่อหน้าที่สองของ ''Legge sulle fonti del diritto'' และกฎหมายทุกฉบับเขียนขึ้นด้วยภาษาอิตาลี ส่วนภาษาอื่นที่ใช้ได้แก่[[ภาษาเยอรมัน]] [[ภาษาอังกฤษ]] [[ภาษาสเปน]] [[ภาษาฝรั่งเศส]] และ[[ภาษาโปรตุเกส]] ส่วนภาษาของ[[องครักษ์ชาวสวิส#องครักษ์ชาวสวิสของสันตะปาปา|องครักษ์ชาวสวิสของสันตะปาปา]]คือภาษาเยอรมัน<br /><sup>3</sup>ก่อนปี พ.ศ. 2545 ใช้[[ลีราวาติกัน]]<br /><sup>4</sup> [[ITU-T]] กำหนดหมายเลข 379 ให้กับนครรัฐวาติกัน แต่นครรัฐนี้ก็ถูกรวมอยู่ในแผนการกำหนดเลขหมายอิตาลีและใช้รหัสโทรศัพท์ 39 ของอิตาลีด้วย
| official_website = https://www.vaticanstate.va/en/
}}
}}
{{กล่องข้อมูล มรดกโลก
| Image = [[File:Vatikanische Gaerten Museen Rom.jpg|thumb|245px|center]]
| ID = 286
| type = มรดกทางวัฒนธรรม
| Region = ยุโรปและอเมริกาเหนือ
| Criteria = (i), (ii), (iv), (vi)
| Link = http://whc.unesco.org/en/list/286
| Year = 2527
}}


'''นครรัฐวาติกัน''' ({{lang-en|State of the Vatican City}}; {{lang-it|Stato della Città del Vaticano}}) เป็น[[นครรัฐ]]ที่[[ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล|ไม่มีทางออกสู่ทะเล]]ซึ่งน้อยที่สุดในโลกทั้งในแง่พื้นที่และประชากร ตั้งอยู่ในกรุง[[โรม]] [[ประเทศอิตาลี]] เป็นที่ประทับของ[[พระสันตะปาปา]] ซึ่งเป็นประมุขสูงสุดแห่ง[[คริสตจักร]][[โรมันคาทอลิก]] ศูนย์กลางคือ[[มหาวิหารนักบุญเปโตร]] ซึ่งออกแบบโดย[[มีเกลันเจโล]]
'''นครรัฐวาติกัน''' ({{lang-en|State of the Vatican City}}; {{lang-it|Stato della Città del Vaticano}}) เป็น[[นครรัฐ]]ที่[[ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล|ไม่มีทางออกสู่ทะเล]]ซึ่งน้อยที่สุดในโลกทั้งในแง่พื้นที่และประชากร ตั้งอยู่ในกรุง[[โรม]] [[ประเทศอิตาลี]] เป็นที่ประทับของ[[พระสันตะปาปา]] ซึ่งเป็นประมุขสูงสุดแห่ง[[คริสตจักร]][[โรมันคาทอลิก]] ศูนย์กลางคือ[[มหาวิหารนักบุญเปโตร]] ซึ่งออกแบบโดย[[มีเกลันเจโล]]


การปกครองเป็นแบบอำนาจเบ็ดเสร็จ อำนาจตกอยู่ที่พระสันตะปาปาเพียงผู้เดียว จะหมดวาระก็ต่อเมื่อสิ้นพระชนม์ พระองค์ปัจจุบันคือ[[สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส]] ซึ่งได้รับเลือกเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2556
การปกครองเป็นแบบอำนาจเบ็ดเสร็จ อำนาจตกอยู่ที่พระสันตะปาปาเพียงผู้เดียว จะหมดวาระก็ต่อเมื่อสิ้นพระชนม์ พระองค์ปัจจุบันคือ[[สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส]] ซึ่งได้รับเลือกเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2556
[[File:St Peter's Square, Vatican City - April 2007.jpg|thumb|260px|right|จัตุรัสด้านหน้า[[มหาวิหารนักบุญเปโตร]]เมื่อมองจากยอดโดม[[มีเกลันเจโล]]]]


== ประวัติศาสตร์ ==
== ประวัติศาสตร์ ==
เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ .ศ. 1929 นครรัฐวาติกันและอิตาลีได้ลงนามสนธิสัญญายอมรับสถานะของนครรัฐวาติกันเป็นรัฐเอกราชมีอำนาจอธิปไตยของตนเอง ตั้งแต่ .ศ. 1960 นครรัฐวาติกันได้รับการจารึกให้เป็นดินแดนที่จะต้องได้รับการปกป้องรักษาไว้เป็นพิเศษในสถานการณ์ที่มีความขัดแย้งทางอาวุธ (International Register of Cultural Works under Special Protection in Case of Armed Conflict) เนื่องจากเป็นแหล่งศิลปวัฒนธรรมของโลก มีหอสมุดอันเก่าแก่ตั้งแต่ศตวรรษที่ 13 (the Apostolic Library of the Vatican)
เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ .ศ. 2472 นครรัฐวาติกันและอิตาลีได้ลงนามสนธิสัญญา ยอมรับสถานะของนครรัฐวาติกันเป็นรัฐเอกราชมีอำนาจอธิปไตยของตนเอง<ref>{{cite web|url=http://www.aloha.net/~mikesch/treaty.htm|title=Text of the Lateran Treaty of 1929|website=www.aloha.net}}</ref> ตั้งแต่ .ศ. 2503 นครรัฐวาติกันได้รับการจารึกให้เป็นดินแดน ที่จะต้องได้รับการปกป้องรักษาไว้เป็นพิเศษในสถานการณ์ที่มีความขัดแย้งทางอาวุธ (International Register of Cultural Works under Special Protection in Case of Armed Conflict) เนื่องจากเป็นแหล่งศิลปวัฒนธรรมของโลก มีหอสมุดอันเก่าแก่ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 13 (the Apostolic Library of the Vatican)


ต่อมา ในศตวรรษที่ 15 ได้มีการจัดตั้งหอจดหมายเหตุนครรัฐวาติกัน (Secret Archive of the Vatican) พิพิธภัณฑ์วาติกัน มหาวิหารนักบุญเปโตร และมีสำนักพิมพ์ของตนชื่อ the Vatican Polyglot Press ซึ่งเป็นที่จัดพิมพ์ผลงานภาษาต่าง ๆ รวมทั้งออกหนังสือพิมพ์รายวัน Observatore Romano ซึ่งตีพิมพ์เผยแพร่ตั้งแต่ .ศ. 1861 และตั้งแต่ .ศ. 1931 นครรัฐวาติกันได้จัดตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียง ถ่ายทอดเสียงภาษาต่าง ๆ ถึง 30 ภาษา ปัจจุบัน นครรัฐวาติกันมีสถานีวิทยุกระจายเสียง 3 สถานี สถานีโทรทัศน์ 1 สถานี
ต่อมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ได้มีการจัดตั้งหอจดหมายเหตุนครรัฐวาติกัน (Secret Archive of the Vatican) พิพิธภัณฑ์วาติกัน มหาวิหารนักบุญเปโตร และมีสำนักพิมพ์ของตนชื่อ the Vatican Polyglot Press ซึ่งเป็นที่จัดพิมพ์ผลงานภาษาต่าง ๆ รวมทั้งออกหนังสือพิมพ์รายวัน Observatore Romano ซึ่งตีพิมพ์เผยแพร่ตั้งแต่ .ศ. 2404 และตั้งแต่ .ศ. 2474 นครรัฐวาติกันได้จัดตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียง ถ่ายทอดเสียงภาษาต่าง ๆ ถึง 30 ภาษา ปัจจุบัน นครรัฐวาติกันมีสถานีวิทยุกระจายเสียง 3 สถานี สถานีโทรทัศน์ 1 สถานี


== รัฐบาล ==
== รัฐบาล ==
=== พระสันตะปาปา ===
=== พระสันตะปาปา ===
[[พระสันตะปาปา]]ทรงอำนาจสูงสุดทั้งด้านนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ พระสันตะปาปาองค์ล่าสุดคือสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส ชาวอาร์เจนตินาเชื้อสายอิตาลี ทรงได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2556 โดย[[คณะพระคาร์ดินัล]] ซึ่งเป็นสภาที่ปรึกษาของสมเด็จพระสันตะปาปา โดย[[พระคาร์ดินัล]]ที่มีอายุต่ำกว่า 80 ปีเท่านั้นจึงจะมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง พระสันตะปาปาที่ทรงได้รับเลือกตั้งแล้วตามปกติจะอยู่ในตำแหน่งไปจนตลอดพระชนม์ชีพ เว้นแต่จะมี[[การสละตำแหน่งพระสันตะปาปา]] ซึ่งสมเด็จพระสันตะปาปาองค์ก่อนหน้านี้คือ[[สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16]] ได้[[การสละตำแหน่งพระสันตะปาปา|สละตำแหน่ง]]เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
[[พระสันตะปาปา]]ทรงอำนาจสูงสุดทั้งด้านนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ<ref name="nationsencyclopedia1">{{cite web|url=http://www.nationsencyclopedia.com/economies/Europe/Vatican-City-POLITICS-GOVERNMENT-AND-TAXATION.html|title=Vatican City (Politics, government, and taxation)|publisher=Nations Encyclopedia|accessdate=28 November 2007}}</ref> พระสันตะปาปาองค์ล่าสุดคือสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส ชาวอาร์เจนตินาเชื้อสายอิตาลี ทรงได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2556 โดย[[คณะพระคาร์ดินัล]] ซึ่งเป็นสภาที่ปรึกษาของสมเด็จพระสันตะปาปา โดย[[พระคาร์ดินัล]]ที่มีอายุต่ำกว่า 80 ปีเท่านั้นจึงจะมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง พระสันตะปาปาที่ทรงได้รับเลือกตั้งแล้วตามปกติจะอยู่ในตำแหน่งไปจนตลอดพระชนม์ชีพ เว้นแต่จะมี[[การสละตำแหน่งพระสันตะปาปา]] ซึ่งสมเด็จพระสันตะปาปาองค์ก่อนหน้านี้คือ[[สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16]] ได้[[การสละตำแหน่งพระสันตะปาปา|สละตำแหน่ง]]เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


=== การบริหารศาสนจักร ===
=== การบริหารศาสนจักร ===
บรรทัด 91: บรรทัด 100:


== ภูมิศาสตร์ ==
== ภูมิศาสตร์ ==
[[File:MapOfBorgo.jpg|thumb|right|260px|แผนที่ของ ริโอนี บอร์โก ของกรุงโรม<br/>ในปี พ.ศ.2322 ก่อนแบ่งแยกนครรัฐวาติกัน]]
{{โครงส่วน}}
คำว่า วาติกัน ปรากฎก่อนการสถาปนาศาสนจักร โดยมาจากคำในยุคโรมัน ({{lang-la|Mons Vaticanus}}) หมายถึง ภูเขาวาติกัน<ref>{{cite web|url=http://dictionary.reference.com/browse/Vatican|title=Vatican (search)|publisher=Online Dictionary|accessdate=28 November 2007}}</ref> เขตของนครรัฐวาติกันเป็นส่วนหนึ่งของ Mons Vaticanus และเขตวาติกันในอดีตที่อยู่ติดกัน วาติกันคือที่ตั้งของ[[มหาวิหารนักบุญเปโตร]], [[พระราชวังพระสันตะปาปา]], [[โบสถ์น้อยซิสทีน]] และพิพิธภัณฑ์รวมทั้งอาคารอื่น ๆ พื้นที่นี้เคยเป็นส่วนหนึ่งของรีโอนี (พื้นที่ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์) บอร์โก ของกรุงโรมกระทั่งปี พ.ศ. 2472 ได้แบ่งแยกออกมาตามแนวฝั่งตะวันตกของ[[แม่น้ำไทเบอร์]] วาติกันก่อตั้งขึ้นอยู่โดยได้รับการป้องกันภายในเขตกำแพงของ[[สมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 4]] (พ.ศ.1390 - 1398) และต่อมาขยายโดยกำแพงป้อมปราการที่ปรากฎในปัจจุบันซึ่งสร้างขึ้นในสมัยของ[[สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3]] (พ.ศ.2077 - 2092), [[สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 4]] (พ.ศ.2102 - 2108) และ[[สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 8]] (พ.ศ.2166 - 2187)
[[File:Vatican City map EN.png|thumb|upright=2.25|left|แผนที่ของนครรัฐวาติกัน, แสดงกลุ่มอาคารที่สำคัญและบริเวณสวนวาติกัน]]
เมื่อ[[สนธิสัญญาลาเตรัน]] ในปี พ.ศ.2472 กำหนดเตรียมการจัดตั้งนครรัฐ ขอบเขตของดินแดนที่เสนอนั้นได้รับการพิจารณาจากส่วนใหญ่ทั้งหมดที่อยู่ภายในวงรอบนี้ สำหรับสถานที่บางแห่งของเขตแดนไม่มีกำแพง แต่มีอาคารบางหลังที่จัดเป็นส่วนหนึ่งของเขตแดนแทน และบางส่วนเล็ก ๆ ของเขตแดนก็มีการสร้างกำแพงสมัยใหม่ขึ้นมา

อาณาเขตประกอบด้วย จัตุรัสนักบุญเปโตร ซึ่งแบ่งแยกจากดินแดนของอิตาลีโดยมีเพียงเส้นสีขาวตามแนวขอบเขตของจัตุรัส ที่ซึ่งติดกับจัตุรัสปิอุสที่สิบสองของกรุงโรม สามารถเข้าถึงจัตุรัสนักบุญเปโตรได้โดยผ่านถนน della Conciliazione ทอดระหว่างริมฝั่งแม่น้ำไทเบอร์ไปยังมหาวิหารนักบุญเปโตร ซึ่งสร้างขึ้นโดย[[เบนิโต_มุสโสลินี|เบนิโต มุสโสลินี]] หลังจากบทสรุปของสนธิสัญญาลาเตรัน

ไม่มีการควบคุมหนังสือเดินทางสำหรับผู้เข้าชมนครวาติกันจากดินแดนอิตาลีโดยรอบ สามารถเข้าถึงในบริเวณจัตุรัสและมหาวิหารนักบุญเปโตรโดยสาธารณะและไม่มีค่าใช้จ่าย สำหรับโอกาสที่สมเด็จพระสันตะปาปาทรงตรัสกับสาธุชนที่มารวมตัวกัน ณ จตุรัสนักบุญเปโตร ผู้ชมเหล่านี้และสำหรับพิธีสำคัญในมหาวิหารและจัตุรัสจะต้องรับบัตรฟรีก่อน, [[พิพิธภัณฑ์วาติกัน]]ซึ่งรวมถึงโบสถ์น้อยซิสทีน มีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมเข้าชม สำหรับ[[สวนวาติกัน]]ไม่เปิดให้เข้าชมโดยทั่วไป แต่มีการนำชมสวนและงานขุดใต้มหาวิหารโดยไกด์สำหรับกลุ่มเล็ก ๆ สำหรับสถานที่อื่น ๆ เปิดให้เฉพาะบุคคลที่มีธุระติดต่อสถานที่นั้นเท่านั้น


== เศรษฐกิจ ==
== เศรษฐกิจ ==
ศาสนจักรวาติกันมีรายได้หลักจากการสนับสนุนทางการเงินขององค์กรคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกทั่วโลก เงินรายได้นี้เรียกว่า "Peter s Pence" นอกจากนี้ ยังมีรายได้จากการลงทุนต่าง ๆ ภายใต้การบริหารของหน่วยงาน The Patrimony of the Holy See ค่าธรรมเนียมการเข้าชมพิพิธภัณฑ์รายได้จากการจำหน่ายหนังสือ สิ่งพิมพ์ ดวงตราไปรษณียากร ของที่ระลึกสำหรับนักท่องเที่ยว{{อ้างอิง}}
ศาสนจักรวาติกันมีรายได้หลักจากการสนับสนุนทางการเงินขององค์กรคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกทั่วโลก เงินรายได้นี้เรียกว่า "Peter s Pence" นอกจากนี้ ยังมีรายได้จากการลงทุนต่าง ๆ ภายใต้การบริหารของหน่วยงาน The Patrimony of the Holy See ค่าธรรมเนียมการเข้าชมพิพิธภัณฑ์รายได้จากการจำหน่ายหนังสือ สิ่งพิมพ์ ดวงตราไปรษณียากร ของที่ระลึกสำหรับนักท่องเที่ยว<ref>{{Cite web |url=http://212.77.1.245/news_services/bulletin/news/22401.php?index=22401&lang=it |title=Comunicato del Consiglio di cardinali per lo studio dei problemi organizzativi ed economici della Santa Sede: ''Bilancio consuntivo consolidato 2007 della Santa sede, del Governatorato dello Stato della Città del Vaticano e Obolo di San Pietro'' |accessdate=19 August 2008 |archive-url=https://web.archive.org/web/20080801102840/http://212.77.1.245/news_services/bulletin/news/22401.php?index=22401&lang=it |archive-date=10 August 2008|lang=Italian}}</ref>


== ประชากร ==
== ประชากร ==
[[File:Swiss Guard- LobozPics.jpg|thumb|upright= 0.75|[[สันตะองค์รักษ์สวิส]]<br/>ในชุดเครื่องแบบ]]
คนเชื้อชาติวาติกันไม่มีในโลก มีแต่พลเมืองสัญชาติวาติกันเป็นอย่างมาก นครรัฐวาติกันมีพลเมืองประมาณ 900 คน ประมาณ 200 คนเป็นสตรี และมีคนทำงานในนครวาติกัน 1,300 คน พลเมืองอันประกอบด้วยองค์สันตะปาปา คาร์ดินัล ผู้ปกครองนครรัฐ วาติกัน เจ้าหน้าที่ประจำวาติกัน และทหารสวิสมีหอกโบราณเป็นอาวุธประดับเกียรติ ซึ่งเป็นองครักษ์ของสันตะปาปาประมาณ 100 คน ทหารสวิส มีมาตั้งแต่ .ศ. 1506 การแต่งกายของทหารสวิส กล่าวกันว่าเครื่องแบบออกแบบโดย “มีเกลันเจโล” แต่แท้จริงแล้ว "[[ราฟาเอล]]" คือบุคคลที่พัฒนาชุดตามอิทธิพลทางศิลปะ[[สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา]]และภาพเขียนของเขา ทหารสวิสทุกคนเป็นชาวสวิส และเป็นคาทอลิกที่ดี ทหารสวิสแต่ละคนจะประจำการชั่วระยะหนึ่ง นอกจากนั้นก็ได้แก่เจ้าหน้าที่ทูตวาติกันที่ประจำอยู่ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยด้วย พลเมืองวาติกันเหล่านี้จะมีสัญชาติวาติกันเฉพาะในขณะดำรงตำแหน่งหรือเป็นภรรยาของพลเมืองวาติกัน หรือเป็นบุตรที่มีอายุไม่เกิน 25 ของพลเมืองวาติกัน บุตรคนใดอายุถึง 25 ปี ต้องกลับคืนสัญชาติเดิม ผู้ถือสัญชาติวาติกัน หากพ้นตำแหน่งเมื่อใดก็ต้องคืนสู่สัญชาติเดิมของตน พร้อมด้วยบุคคลทุกคนในครอบครัวที่ถือสัญชาติวาติกัน หากชาติเดิมของตนไม่ยอมรับให้ขอสัญชาติอิตาลีซึ่งรัฐบาลอิตาลีมีข้อผูกมัดต้องรับเสมอ
คนเชื้อชาติวาติกันไม่มีในโลก มีแต่พลเมืองสัญชาติวาติกันเป็นอย่างมาก นครรัฐวาติกันมีพลเมืองประมาณ 900 คน ประมาณ 200 คนเป็นสตรี และมีคนทำงานในนครวาติกัน 1,300 คน พลเมืองอันประกอบด้วยองค์สันตะปาปา คาร์ดินัล ผู้ปกครองนครรัฐ วาติกัน เจ้าหน้าที่ประจำวาติกัน และทหารสวิสมีหอกโบราณเป็นอาวุธประดับเกียรติ ซึ่งเป็นองครักษ์ของสันตะปาปาประมาณ 100 คน ทหารสวิส มีมาตั้งแต่ .ศ. 2049 การแต่งกายของทหารสวิส กล่าวกันว่าเครื่องแบบออกแบบโดย “มีเกลันเจโล” แต่แท้จริงแล้ว "[[ราฟาเอล]]" คือบุคคลที่พัฒนาชุดตามอิทธิพลทางศิลปะ[[สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา]]และภาพเขียนของเขา ทหารสวิสทุกคนเป็นชาวสวิส และเป็นคาทอลิกที่ดี ทหารสวิสแต่ละคนจะประจำการชั่วระยะหนึ่ง นอกจากนั้นก็ได้แก่เจ้าหน้าที่ทูตวาติกันที่ประจำอยู่ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยด้วย พลเมืองวาติกันเหล่านี้จะมีสัญชาติวาติกันเฉพาะในขณะดำรงตำแหน่งหรือเป็นภรรยาของพลเมืองวาติกัน หรือเป็นบุตรที่มีอายุไม่เกิน 25 ของพลเมืองวาติกัน บุตรคนใดอายุถึง 25 ปี ต้องกลับคืนสัญชาติเดิม<ref>{{cite web |author=United Nations High Commissioner for Refugees |url=http://www.unhcr.org/refworld/category,LEGAL,,LEGISLATION,VAT,3ae6b52f10,0.html |title=Law on Citizenship and Residence, 7 June 1992 |publisher=Unhcr.org |date=7 June 1992 |accessdate=15 October 2010 |archiveurl=https://web.archive.org/web/20110717160038/http://www.unhcr.org/refworld/category,LEGAL,,LEGISLATION,VAT,3ae6b52f10,0.html |archivedate=17 July 2011}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.vatican.va/news_services/press/documentazione/documents/sp_ss_scv/informazione_generale/cittadinanza_it.html |title=Cittadinanza vaticana |lang=Italian |publisher=Vatican.va |date=31 December 2001 |accessdate=15 October 2010}}</ref> ผู้ถือสัญชาติวาติกัน หากพ้นตำแหน่งเมื่อใดก็ต้องคืนสู่สัญชาติเดิมของตน พร้อมด้วยบุคคลทุกคนในครอบครัวที่ถือสัญชาติวาติกัน หากชาติเดิมของตนไม่ยอมรับให้ขอสัญชาติอิตาลีซึ่งรัฐบาลอิตาลีมีข้อผูกมัดต้องรับเสมอตามความตกลงใน[[สนธิสัญญาลาเตรัน]]<ref name="treaty">{{cite web|title=Patti Lateranensi |url=http://www.vatican.va/roman_curia/secretariat_state/archivio/documents/rc_seg-st_19290211_patti-lateranensi_it.html |lang=Italian |publisher=vatican.va |accessdate=6 November 2013}}</ref>

== เชิงอรรถ ==
{{reflist|group=lower-roman}}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

=== บรรณานุกรม ===
== บรรณานุกรม ==
* Morley, John. 1980. ''Vatican diplomacy and the Jews during the Holocaust, 1939–1943''. New York : KTAV Pub. House. ISBN 0-87068-701-8
* Morley, John. 1980. ''Vatican diplomacy and the Jews during the Holocaust, 1939–1943''. New York : KTAV Pub. House. ISBN 0-87068-701-8
* {{cite book|last=Nichols|first=Fiona|title=Rome and the Vatican|url=http://books.google.com/books?id=S-TekVnvyx4C&pg=PA85|accessdate=4 March 2010|date=1 August 2006|publisher=New Holland Publishers|isbn=9781845375003|pages=85–|ref=Nichols69}}
* {{cite book|last=Nichols|first=Fiona|title=Rome and the Vatican|url=http://books.google.com/books?id=S-TekVnvyx4C&pg=PA85|accessdate=4 March 2010|date=1 August 2006|publisher=New Holland Publishers|isbn=9781845375003|pages=85–|ref=Nichols69}}
*[[Owen Chadwick|Chadwick, Owen]]. 1988. ''Britain and the Vatican During the Second World War''. [[Cambridge University Press]]
*[[:en:Owen_Chadwick|Chadwick, Owen]]. 1988. ''Britain and the Vatican During the Second World War''. [[:en:Cambridge_University_Press|Cambridge University Press]]
*[[Peter Kent (historian)|Kent, Peter]]. 2002. ''The Lonely Cold War of Pope Pius XII: The Roman Catholic Church and the Division of Europe, 1943–1950.'' Ithaca: McGill-Queen's University Press. ISBN 0-7735-2326-X
*[[:en:Peter_Kent_(historian)|Kent, Peter]]. 2002. ''The Lonely Cold War of Pope Pius XII: The Roman Catholic Church and the Division of Europe, 1943–1950.'' Ithaca: McGill-Queen's University Press. ISBN 0-7735-2326-X
* Ricci, Corrado. ''“Vatican: Its History Its Treasures”'' <small>Contributor Ernesto Begni. 2003 Published by Kessinger Publishing, ISBN 0-7661-3941-7, ISBN 978-0-7661-3941-1</small>
* Ricci, Corrado. (5 June 2003). In Begni, Ernesto (Ed.), ''“Vatican: Its History Its Treasures”''. Whitefish, Montana : Kessinger Publishing. ISBN 0-7661-3941-7, ISBN 978-0-7661-3941-1


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* {{Commons-inline|นครรัฐวาติกัน}}
* {{Wikivoyage|Vatican City}}
* {{Wikiatlas|Vatican City}}
* [http://www.vaticanstate.va/EN/homepage.htm Vatican City State]—official website
* [http://www.vaticanstate.va/EN/homepage.htm Vatican City State]—official website
* [https://www.cia.gov/library/publications/world-leaders-1/world-leaders-h/holy-see-vatican-city.html Chief of State and Cabinet Members]
* [https://www.cia.gov/library/publications/world-leaders-1/world-leaders-h/holy-see-vatican-city.html Chief of State and Cabinet Members]
บรรทัด 122: บรรทัด 146:
{{ยุโรป}}
{{ยุโรป}}
{{ประเทศที่มีกษัตริย์เป็นประมุข}}
{{ประเทศที่มีกษัตริย์เป็นประมุข}}
{{Authority control|VIAF=136038551|LCCN=n/80/53295|GND=4062404-3|BNF=cb15336233z|NDL=00560559}}


{{เรียงลำดับ|วาติกัน}}
{{เรียงลำดับ|วาติกัน}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:08, 5 พฤศจิกายน 2562

นครรัฐวาติกัน

Stato della Città del Vaticano (อิตาลี)
ที่ตั้งของนครรัฐวาติกัน
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
นครวาติกัน (นครรัฐ)
ภาษาราชการภาษาอิตาลี[i]
การปกครองเทวาธิปไตยจากการเลือกตั้งและมีอำนาจสมบูรณ์
สมเด็จพระสันตะปาปา
ฟรานซิส
พระคาร์ดินัล
จูเซปเป มาร์เตลโล
เอกราช 
11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2472
พื้นที่
• รวม
0.44 ตารางกิโลเมตร (0.17 ตารางไมล์) (อันดับ 196)
ประชากร
• 2017 ประมาณ
1,000[1] (อันดับ 236)
2,272 ต่อตารางกิโลเมตร (5,884.5 ต่อตารางไมล์) (อันดับ 6)
สกุลเงินยูโร (€)[ii] (EUR)
เขตเวลาUTC+1 (CET)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC+2 (CEST)
ขับรถด้านขวา[iii]
รหัสโทรศัพท์39[iv]
รหัส ISO 3166VA
โดเมนบนสุด.va
เว็บไซต์
https://www.vaticanstate.va/en/
นครรัฐวาติกัน *
  แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
ภูมิภาค **ยุโรปและอเมริกาเหนือ
เกณฑ์พิจารณา(i), (ii), (iv), (vi)
อ้างอิง286
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน2527 (คณะกรรมการสมัยที่ 8)
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

นครรัฐวาติกัน (อังกฤษ: State of the Vatican City; อิตาลี: Stato della Città del Vaticano) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลซึ่งน้อยที่สุดในโลกทั้งในแง่พื้นที่และประชากร ตั้งอยู่ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นประมุขสูงสุดแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก ศูนย์กลางคือมหาวิหารนักบุญเปโตร ซึ่งออกแบบโดยมีเกลันเจโล

การปกครองเป็นแบบอำนาจเบ็ดเสร็จ อำนาจตกอยู่ที่พระสันตะปาปาเพียงผู้เดียว จะหมดวาระก็ต่อเมื่อสิ้นพระชนม์ พระองค์ปัจจุบันคือสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส ซึ่งได้รับเลือกเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2556

จัตุรัสด้านหน้ามหาวิหารนักบุญเปโตรเมื่อมองจากยอดโดมมีเกลันเจโล

ประวัติศาสตร์

เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2472 นครรัฐวาติกันและอิตาลีได้ลงนามสนธิสัญญา ยอมรับสถานะของนครรัฐวาติกันเป็นรัฐเอกราชมีอำนาจอธิปไตยของตนเอง[2] ตั้งแต่ พ.ศ. 2503 นครรัฐวาติกันได้รับการจารึกให้เป็นดินแดน ที่จะต้องได้รับการปกป้องรักษาไว้เป็นพิเศษในสถานการณ์ที่มีความขัดแย้งทางอาวุธ (International Register of Cultural Works under Special Protection in Case of Armed Conflict) เนื่องจากเป็นแหล่งศิลปวัฒนธรรมของโลก มีหอสมุดอันเก่าแก่ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 13 (the Apostolic Library of the Vatican)

ต่อมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ได้มีการจัดตั้งหอจดหมายเหตุนครรัฐวาติกัน (Secret Archive of the Vatican) พิพิธภัณฑ์วาติกัน มหาวิหารนักบุญเปโตร และมีสำนักพิมพ์ของตนชื่อ the Vatican Polyglot Press ซึ่งเป็นที่จัดพิมพ์ผลงานภาษาต่าง ๆ รวมทั้งออกหนังสือพิมพ์รายวัน Observatore Romano ซึ่งตีพิมพ์เผยแพร่ตั้งแต่ พ.ศ. 2404 และตั้งแต่ พ.ศ. 2474 นครรัฐวาติกันได้จัดตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียง ถ่ายทอดเสียงภาษาต่าง ๆ ถึง 30 ภาษา ปัจจุบัน นครรัฐวาติกันมีสถานีวิทยุกระจายเสียง 3 สถานี สถานีโทรทัศน์ 1 สถานี

รัฐบาล

พระสันตะปาปา

พระสันตะปาปาทรงอำนาจสูงสุดทั้งด้านนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ[3] พระสันตะปาปาองค์ล่าสุดคือสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส ชาวอาร์เจนตินาเชื้อสายอิตาลี ทรงได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2556 โดยคณะพระคาร์ดินัล ซึ่งเป็นสภาที่ปรึกษาของสมเด็จพระสันตะปาปา โดยพระคาร์ดินัลที่มีอายุต่ำกว่า 80 ปีเท่านั้นจึงจะมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง พระสันตะปาปาที่ทรงได้รับเลือกตั้งแล้วตามปกติจะอยู่ในตำแหน่งไปจนตลอดพระชนม์ชีพ เว้นแต่จะมีการสละตำแหน่งพระสันตะปาปา ซึ่งสมเด็จพระสันตะปาปาองค์ก่อนหน้านี้คือสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 ได้สละตำแหน่งเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

การบริหารศาสนจักร

การบริหารศาสนจักรเป็นหน้าที่ของสภาปกครองโรมัน (the Roman Curia) หรือสำนักงานบริหารศาสนจักรส่วนกลาง ซึ่งมักเรียกว่าสันตะสำนัก (Holy/Apostolic See) มีหน่วยงานหลักคือ สำนักเลขาธิการแห่งรัฐ (Secretariat of State) รับผิดชอบการบริหารประเทศ โดยมีพระคาร์ดินัลเลขาธิการแห่งรัฐ (Cardinal Secretary of State) เป็นหัวหน้า (เทียบเท่านายกรัฐมนตรี) มีหน้าที่รับผิดชอบกิจการด้านการเมืองและการทูตของนครรัฐวาติกัน

เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2531 สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ทรงปรับโครงสร้างของสำนักเลขาธิการแห่งรัฐ โดยแบ่งเป็น 2 หน่วยงาน คือ

  1. The Section for General Affairs หรือ The First Section รับผิดชอบด้านการบริหารของศาสนจักรและดูแลสถานทูตต่าง ๆ ประจำนครรัฐวาติกัน หัวหน้าหน่วยงาน คือ The Substitute for General Affairs และมีผู้ช่วย คือ The Assessor for General Affairs
  2. The Section for Relations with States รับผิดชอบด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และการแต่งตั้งบิชอปในประเทศต่าง ๆ หัวหน้าหน่วยงาน คือ The Secretary for Relations with States และมีผู้ช่วย คือ The Under-Secretary for Relations with States

นอกจากหน่วยงานทั้งสองข้างต้นแล้วยังมีสมณะกระทรวงต่าง ๆ ซึ่งเทียบได้กับกระทรวงรวม 9 กระทรวง เรียกชื่อตามลักษณะงานในความรับผิดชอบ ได้แก่

  1. สมณะกระทรวงหลักความเชื่อ รับผิดชอบเกี่ยวกับการส่งเสริมศรัทธาและศีลธรรมทั่วโลก
  2. สมณะกระทรวงการแต่งตั้งนักบุญ รับผิดชอบเกี่ยวกับขั้นตอนการประกาศเป็นนักบุญ
  3. สมณะกระทรวงคริสตจักรตะวันออก รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจกรรมของคริสตจักรคาทอลิกตะวันออก (ไบแซนไทน์)
  4. สมณะกระทรวงมุขนายก รับผิดชอบเกี่ยวกับการตั้งมุขนายกและมุขมณฑล
  5. สมณะกระทรวงพิธีกรรมและศีลศักดิ์สิทธิ์ รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจกรรมการนมัสการในคริสต์ศาสนา
  6. สมณะกระทรวงการประกาศพระวรสารสู่ปวงชน รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจกรรมแพร่ธรรมของมิชชันนารีในศาสนจักรในทวีปแอฟริกาและเอเชีย ซึ่งรวมถึงประเทศไทยด้วย
  7. สมณะกระทรวงสถาบันชีวิตที่ถวายแล้วและคณะชีวิตแพร่ธรรม รับผิดชอบเกี่ยวกับการส่งเสริมและกำกับดูแลคณะนักบวชคาทอลิกคณะต่าง ๆ
  8. สมณะกระทรวงบาทหลวง รับผิดชอบเกี่ยวกับบาทหลวงและผู้ช่วยบาทหลวงที่มิใช่นักบวช รวมถึงกิจกรรมและวินัยของบาทหลวงประจำมุขมณฑล
  9. สมณะกระทรวงการศึกษาคาทอลิก รับผิดชอบเกี่ยวกับเซมินารี รวมทั้งการส่งเสริมและการจัดตั้งสถานศึกษาคาทอลิก โดยเฉพาะ โรงเรียนและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ

ภูมิศาสตร์

แผนที่ของ ริโอนี บอร์โก ของกรุงโรม
ในปี พ.ศ.2322 ก่อนแบ่งแยกนครรัฐวาติกัน

คำว่า วาติกัน ปรากฎก่อนการสถาปนาศาสนจักร โดยมาจากคำในยุคโรมัน (ละติน: Mons Vaticanus) หมายถึง ภูเขาวาติกัน[4] เขตของนครรัฐวาติกันเป็นส่วนหนึ่งของ Mons Vaticanus และเขตวาติกันในอดีตที่อยู่ติดกัน วาติกันคือที่ตั้งของมหาวิหารนักบุญเปโตร, พระราชวังพระสันตะปาปา, โบสถ์น้อยซิสทีน และพิพิธภัณฑ์รวมทั้งอาคารอื่น ๆ พื้นที่นี้เคยเป็นส่วนหนึ่งของรีโอนี (พื้นที่ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์) บอร์โก ของกรุงโรมกระทั่งปี พ.ศ. 2472 ได้แบ่งแยกออกมาตามแนวฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไทเบอร์ วาติกันก่อตั้งขึ้นอยู่โดยได้รับการป้องกันภายในเขตกำแพงของสมเด็จพระสันตะปาปาลีโอที่ 4 (พ.ศ.1390 - 1398) และต่อมาขยายโดยกำแพงป้อมปราการที่ปรากฎในปัจจุบันซึ่งสร้างขึ้นในสมัยของสมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 3 (พ.ศ.2077 - 2092), สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 4 (พ.ศ.2102 - 2108) และสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 8 (พ.ศ.2166 - 2187)

แผนที่ของนครรัฐวาติกัน, แสดงกลุ่มอาคารที่สำคัญและบริเวณสวนวาติกัน

เมื่อสนธิสัญญาลาเตรัน ในปี พ.ศ.2472 กำหนดเตรียมการจัดตั้งนครรัฐ ขอบเขตของดินแดนที่เสนอนั้นได้รับการพิจารณาจากส่วนใหญ่ทั้งหมดที่อยู่ภายในวงรอบนี้ สำหรับสถานที่บางแห่งของเขตแดนไม่มีกำแพง แต่มีอาคารบางหลังที่จัดเป็นส่วนหนึ่งของเขตแดนแทน และบางส่วนเล็ก ๆ ของเขตแดนก็มีการสร้างกำแพงสมัยใหม่ขึ้นมา

อาณาเขตประกอบด้วย จัตุรัสนักบุญเปโตร ซึ่งแบ่งแยกจากดินแดนของอิตาลีโดยมีเพียงเส้นสีขาวตามแนวขอบเขตของจัตุรัส ที่ซึ่งติดกับจัตุรัสปิอุสที่สิบสองของกรุงโรม สามารถเข้าถึงจัตุรัสนักบุญเปโตรได้โดยผ่านถนน della Conciliazione ทอดระหว่างริมฝั่งแม่น้ำไทเบอร์ไปยังมหาวิหารนักบุญเปโตร ซึ่งสร้างขึ้นโดยเบนิโต มุสโสลินี หลังจากบทสรุปของสนธิสัญญาลาเตรัน

ไม่มีการควบคุมหนังสือเดินทางสำหรับผู้เข้าชมนครวาติกันจากดินแดนอิตาลีโดยรอบ สามารถเข้าถึงในบริเวณจัตุรัสและมหาวิหารนักบุญเปโตรโดยสาธารณะและไม่มีค่าใช้จ่าย สำหรับโอกาสที่สมเด็จพระสันตะปาปาทรงตรัสกับสาธุชนที่มารวมตัวกัน ณ จตุรัสนักบุญเปโตร ผู้ชมเหล่านี้และสำหรับพิธีสำคัญในมหาวิหารและจัตุรัสจะต้องรับบัตรฟรีก่อน, พิพิธภัณฑ์วาติกันซึ่งรวมถึงโบสถ์น้อยซิสทีน มีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมเข้าชม สำหรับสวนวาติกันไม่เปิดให้เข้าชมโดยทั่วไป แต่มีการนำชมสวนและงานขุดใต้มหาวิหารโดยไกด์สำหรับกลุ่มเล็ก ๆ สำหรับสถานที่อื่น ๆ เปิดให้เฉพาะบุคคลที่มีธุระติดต่อสถานที่นั้นเท่านั้น

เศรษฐกิจ

ศาสนจักรวาติกันมีรายได้หลักจากการสนับสนุนทางการเงินขององค์กรคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิกทั่วโลก เงินรายได้นี้เรียกว่า "Peter s Pence" นอกจากนี้ ยังมีรายได้จากการลงทุนต่าง ๆ ภายใต้การบริหารของหน่วยงาน The Patrimony of the Holy See ค่าธรรมเนียมการเข้าชมพิพิธภัณฑ์รายได้จากการจำหน่ายหนังสือ สิ่งพิมพ์ ดวงตราไปรษณียากร ของที่ระลึกสำหรับนักท่องเที่ยว[5]

ประชากร

สันตะองค์รักษ์สวิส
ในชุดเครื่องแบบ

คนเชื้อชาติวาติกันไม่มีในโลก มีแต่พลเมืองสัญชาติวาติกันเป็นอย่างมาก นครรัฐวาติกันมีพลเมืองประมาณ 900 คน ประมาณ 200 คนเป็นสตรี และมีคนทำงานในนครวาติกัน 1,300 คน พลเมืองอันประกอบด้วยองค์สันตะปาปา คาร์ดินัล ผู้ปกครองนครรัฐ วาติกัน เจ้าหน้าที่ประจำวาติกัน และทหารสวิสมีหอกโบราณเป็นอาวุธประดับเกียรติ ซึ่งเป็นองครักษ์ของสันตะปาปาประมาณ 100 คน ทหารสวิส มีมาตั้งแต่ พ.ศ. 2049 การแต่งกายของทหารสวิส กล่าวกันว่าเครื่องแบบออกแบบโดย “มีเกลันเจโล” แต่แท้จริงแล้ว "ราฟาเอล" คือบุคคลที่พัฒนาชุดตามอิทธิพลทางศิลปะสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาและภาพเขียนของเขา ทหารสวิสทุกคนเป็นชาวสวิส และเป็นคาทอลิกที่ดี ทหารสวิสแต่ละคนจะประจำการชั่วระยะหนึ่ง นอกจากนั้นก็ได้แก่เจ้าหน้าที่ทูตวาติกันที่ประจำอยู่ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยด้วย พลเมืองวาติกันเหล่านี้จะมีสัญชาติวาติกันเฉพาะในขณะดำรงตำแหน่งหรือเป็นภรรยาของพลเมืองวาติกัน หรือเป็นบุตรที่มีอายุไม่เกิน 25 ของพลเมืองวาติกัน บุตรคนใดอายุถึง 25 ปี ต้องกลับคืนสัญชาติเดิม[6][7] ผู้ถือสัญชาติวาติกัน หากพ้นตำแหน่งเมื่อใดก็ต้องคืนสู่สัญชาติเดิมของตน พร้อมด้วยบุคคลทุกคนในครอบครัวที่ถือสัญชาติวาติกัน หากชาติเดิมของตนไม่ยอมรับให้ขอสัญชาติอิตาลีซึ่งรัฐบาลอิตาลีมีข้อผูกมัดต้องรับเสมอตามความตกลงในสนธิสัญญาลาเตรัน[8]

เชิงอรรถ

  1. ภาษาอิตาลีเป็นภาษาทางการโดยนิตินัยซึ่งปรากฏในย่อหน้าที่สองของ Legge sulle fonti del diritto และกฎหมายทุกฉบับเขียนขึ้นด้วยภาษาอิตาลี ส่วนภาษาอื่นที่ใช้ได้แก่ภาษาเยอรมัน ภาษาอังกฤษ ภาษาสเปน ภาษาฝรั่งเศส และภาษาโปรตุเกส ส่วนภาษาขององครักษ์ชาวสวิสของสันตะปาปาคือภาษาเยอรมัน
  2. ก่อนปี พ.ศ. 2545 ใช้ลีราวาติกัน (₤)
  3. ผู้เยี่ยมชมและนักท่องเที่ยวไม่ได้รับอนุญาตให้ขับรถภายในวาติกัน ซึ่งจะต้องได้รับอนุญาตเป็นการเฉพาะ โดยปกติจะอนุญาตเฉพาะผู้ที่ติดต่อธุระอย่างเป็นทางการในวาติกันเท่านั้น
  4. ITU-T กำหนดหมายเลข 379 ให้กับนครรัฐวาติกัน แต่นครรัฐนี้ก็ถูกรวมอยู่ในแผนการกำหนดเลขหมายของอิตาลีและใช้รหัสโทรศัพท์ 39 ของอิตาลี ตามด้วยรหัส 06 (สำหรับกรุงโรม) และ 698

อ้างอิง

  1. "Holy See (Vatican City)". CIA—The World Factbook.
  2. "Text of the Lateran Treaty of 1929". www.aloha.net.
  3. "Vatican City (Politics, government, and taxation)". Nations Encyclopedia. สืบค้นเมื่อ 28 November 2007.
  4. "Vatican (search)". Online Dictionary. สืบค้นเมื่อ 28 November 2007.
  5. "Comunicato del Consiglio di cardinali per lo studio dei problemi organizzativi ed economici della Santa Sede: Bilancio consuntivo consolidato 2007 della Santa sede, del Governatorato dello Stato della Città del Vaticano e Obolo di San Pietro" (ภาษาItalian). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 August 2008. สืบค้นเมื่อ 19 August 2008.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  6. United Nations High Commissioner for Refugees (7 June 1992). "Law on Citizenship and Residence, 7 June 1992". Unhcr.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 July 2011. สืบค้นเมื่อ 15 October 2010.
  7. "Cittadinanza vaticana" (ภาษาItalian). Vatican.va. 31 December 2001. สืบค้นเมื่อ 15 October 2010.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  8. "Patti Lateranensi" (ภาษาItalian). vatican.va. สืบค้นเมื่อ 6 November 2013.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)

บรรณานุกรม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ นครรัฐวาติกัน