ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยูทูบ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
ที่สำหรับเด็กเกรียน
{{กล่องข้อมูล เว็บไซต์
| name = YouTube
| logo = [[ไฟล์:YouTube Logo.svg|200px]]
| screenshot =
| caption = สกรีนชอตเว็บไซต์ยูทูบ
| url = [http://youtube.com/ youtube.com]
| language = 62 ภาษา
| commercial =
| type = วิดีโอแชร์ริง
| registration = จำเป็นสำหรับการเพิ่มเนื้อหา
| owner = [[กูเกิล]]
|company_slogan = Broadcast Yourself
| author = สตีฟ เชน, ชัด เฮอร์เล และ ยาวีด คาริม
| launch date = 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548
| current status = เปิดให้บริการ
| revenue =
}}

'''ยูทูบ''' ตาม[[American English|สำเนียงอเมริกัน]] หรือ '''ยูทิวบ์''' ตาม[[สำเนียงบริเตน]] ({{lang-en|YouTube}}; {{IPA-en|ˈjuːˌtjuːb (สำเนียงบริเตน), /-tuːb (สำเนียงอเมริกัน)}}<ref>{{cite web |url=http://dictionary.cambridge.org/dictionary/british/youtube?q=Youtube |title= youtube |last1= |first1= |last2= |first2= |date= |work= |publisher=Cambridge Dictionary |accessdate=16 กันยายน 2011}}</ref>) เป็น[[เว็บไซต์]]วิดีโอแชร์ริงโดยมีสำนักงานอยู่ที่ [[ซานบรูโน]] , [[แคลิฟอร์เนีย]]. [[สหรัฐอเมริกา]] เว็ปไซต์ดังกล่าวถูกสร้างขึ้นมาจากอดีตพนักงาน 3 คนในบริษัท[[เพย์แพล]] อันประกอบด้วย [[แชด เฮอร์ลีย์]] [[สตีฟ เชง]] และ [[ยาวีด คาริม]] ในเดือนกุมภาพันธ์ 2548 , ในเดือนพฤศจิกายน 2549 ยูทูบถูกซื้อโดย [[กูเกิล]] ในราคา 1.65 พันล้านเหรียญสหรัฐ<ref>{{Cite news| title=Surprise! There's a third YouTube co-founder|author=Hopkins, Jim|work=USA Today| url =http://www.usatoday.com/tech/news/2006-10-11-youtube-karim_x.htm|accessdate=November 29, 2008 | date=October 11, 2006}}</ref> ยูทูบเป็นหนึ่งในบริษัทย่อยของกูเกิ้ล<ref>{{cite web|title=Google buys YouTube for $1.65 billion|url=http://www.nbcnews.com/id/15196982/ns/business-us_business/t/google-buys-youtube-billion/#.UbECrBG9KSM|publisher=NBC News}}</ref> เว็ปไซต์ยังสามารถให้ผู้ใช้งานสามารถอัปโหลด , ดูคลิป , หรือแชร์คลิปได้


== ข้อมูลเชิงเทคนิค ==
== ข้อมูลเชิงเทคนิค ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:31, 13 กันยายน 2559

ที่สำหรับเด็กเกรียน

ข้อมูลเชิงเทคนิค

รูปแบบวิดีโอ

ยูทูบใช้งานโดยแสดงผลภาพวิดีโอในลักษณะของ adobe flash และใช้การถอดรหัสแบบ Sorenson Spark H.263 แฟลชเป็นโปรแกรมเสริมที่ต้องติดตั้งเพิ่มสำหรับเว็บเบราว์เซอร์ทั่วไป โดยแสดงผลที่ขนาดความกว้างและสูง 320 และ 240 พิกเซล ที่ 25 เฟรมต่อวินาที โดยมีการส่งข้อมูลสูงสุดที่ 300 กิโลบิตต่อวินาที ซึ่งการแสดงผลสามารถดูได้ที่ขนาด

ปกติ หรือขนาดที่แสดงผลเต็มจอ

ยูทูบแปลงไฟล์วิดีโอเป็นไฟล์ในลักษณะแฟลชวิดีโอ ในนามสกุล .FLV ภายหลังจากผู้ใช้ได้อัปโหลดเข้าไป ไม่ว่าผู้อัปโหลดจะโหลดในลักษณะ .WMV .AVI .MOV .3GP MPEG หรือ .MP4 [1]

รูปแบบเสียง

ไฟล์ในยูทูบเก็บในลักษณะสตรีมไฟล์MP3 โดยมีการเข้ารหัสแบบโมโนที่ 65 กิโลบิต/วินาที ที่ 22050 เฮิรตซ์ อย่างไรก็ตามยูทูบสามารถเก็บไฟล์เสียงในลักษณะสเตอริโอได้หากมีการแปลงเป็นไฟล์ FLV ก่อนที่ทำการอัปโหลด

การแสดงผล

วิดีโอในยูทูบสามารถดูได้ผ่านเว็บไซต์ยูทูบโดยตรงผ่านซอฟต์แวร์แฟลชที่กล่าวมา ดูได้ผ่านคอมพิวเตอร์, สมาร์ตโฟน หรือแท็บเล็ตที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ ซึ่งนอกจากนี้ยูทูบสามารถดูได้จากเว็บไซต์ทั่วไปที่มีการนำรหัสไปใส่เชื่อมโยงกลับมาที่เว็บยูทูบเอง เห็นได้ตามกระดานสนทนา บล็อก หรือเว็บไซต์ต่าง ๆ

นอกจากนี้สามารถเซฟไฟล์ยูทูบเก็บไว้ในเครื่องของตนเองได้โดยใช้งานซอฟต์แวร์ของบริษัทอื่น เช่น Keepvid หรือผ่านสคริปต์จาก Greasemonkey โดยจะมีไฟล์เป็นนามสกุล .flv

โดยมีความละเอียดแตกต่างกันไป โดยมีความละเอียดเริ่มต้นที่ 144P ถึง 480P และในความละเอียด HD ที่ 720P ถึง 4K ที่ 2160P

นโนบายลิขสิทธิ์

  1. งานเชิงโสตทัศน์ เช่น รายการทีวี ภาพยนตร์ และวิดีโอออนไลน์
  2. การบันทึกเสียงและการแต่งเพลง
  3. งานเขียน เช่น การบรรยาย บทความ หนังสือ และบทประพันธ์เพลง
  4. งานด้านภาพ เช่น ภาพวาด โปสเตอร์ และโฆษณา
  5. วิดีโอเกมและซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
  6. งานด้านละคร เช่น ละครเวทีและละครเพลง

แนวความคิด ข้อเท็จจริง และกระบวนการต่างๆ ไม่ถือเป็นลิขสิทธิ์ เพื่อให้ได้รับสิทธิ์ในการคุ้มครองลิขสิทธิ์ งานนั้นจะต้องมีทั้งความสร้างสรรค์และถูกเก็บบันทึกอยู่ในสื่อแบบจับต้องได้ ชื่อและตำแหน่งจะไม่ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์

ลิขสิทธิ์เป็นทรัพย์สินทางปัญญารูปแบบหนึ่ง ต่างจากเครื่องหมายการค้าซึ่งป้องกันไม่ให้ผู้อื่นใช้ชื่อแบรนด์ คำขวัญ โลโก้ และตัวระบุแหล่งที่มาอื่นๆ เพื่อวัตถุประสงค์ประการใดประการหนึ่ง นอกจากนี้ยังต่างจากกฎหมายสิทธิบัตรที่ให้การคุ้มครองสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ด้วย

การถูกลอกเลียนแบบ

กลุ่มมุสลิมได้ตั้งเว็บไซต์คล้ายกับยูทูบชื่อ Aqsatube ขึ้น[2] โดยคลิปส่วนมากนั้น เชื่อว่าเป็นฝีมือของกลุ่มฮามาสในฉนวนกาซา เนื้อหาส่วนใหญ่เป็นคำปราศรัยของมือระเบิดพลีชีพก่อนทำการก่อการร้าย

สถิติ

คลิปที่มีคนเข้ามาชมมากที่สุด คือ PSY - GANGNAM STYLE (강남스타일) มีการเข้าชมมากถึง 2,332 ล้านครั้ง[3]

ยูทูบในประเทศไทย

การปิดกั้นข่าวสารในประเทศไทย

ผู้ใช้ในประเทศไทยได้ถูกปิดกั้นการเข้าถึงเว็บไซต์ยูทูบ ตั้งแต่คืนวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2550 หลังจากนายสิทธิชัย โภไคยอุดม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในขณะนั้น พยายามขอความร่วมมือหลายครั้ง ให้กูเกิลนำคลิปวิดีโอตัดต่อพระบรมฉายาลักษณ์ที่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ออก แต่ถูกปฏิเสธโดยได้ให้เหตุผลว่าคลิปวิดีโออื่นที่โจมตีประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช รุนแรงมากกว่านี้ ยังให้อยู่ได้ ซึ่งคลิปวิดีโอดังกล่าว[อันไหน?] อัปโหลดโดยผู้ใช้ชื่อ paddidda เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2550 มีผู้ชมไปแล้ว มากกว่า 16,000 ครั้ง และมีมากกว่า 500 ความคิดเห็นด้วยกัน [4] [5] หลังจากที่ได้มีการออกข่าว จำนวนผู้ชมไปขึ้นไปถึงกว่า 66,553 ครั้งก่อนที่คลิปวิดีโอดังกล่าวจะถูกย้ายออกจากระบบ แม้ว่าคลิปวิดีโอได้ถูกเอาออกไปแล้ว แต่เว็บไซต์ยังคงถูกบล็อกต่อไป โดยนายสิทธิชัย โภไคยอุดมได้ให้เหตุผลว่ายังมีภาพตัดต่อพระบรมฉายาลักษณ์คงเหลืออยู่ และต้องการให้เอาออกทั้งหมด[6][7]

ในวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ได้มีการยกเลิกการบล็อกเว็บไซต์ยูทูบ จนสามารถใช้งานได้ตามปกติแล้ว หลังจากที่ยูทูบตกลงที่จะบล็อกวิดีโอที่มีการหมิ่นประมาทในไทยต่าง ๆ[8]

สถิติในประเทศไทย

การรองรับหลายภาษา

ในวันที่ 19 มิถุนายน ปี 2007 เอริก ชมิดต์ CEO ของ Google ได้เพิ่มระบบ ภาษา ต่างๆ จำนวน 38 ภาษา

อ้างอิง

  1. รูปแบบไฟล์ที่ยูทูบรองรับ
  2. BBC News, "Jihad website AqsaTube goes offline" เข้าถึงเมื่อ 16/10/08
  3. https://www.youtube.com/watch?v=9bZkp7q19f0 PSY - GANGNAM STYLE (강남스타일) วีดิทัศน์เพลงคังนัมสไตล์
  4. Thailand blocks YouTube for clip mocking king ข่าวจากสำนักข่าวรอยเตอร์ (อังกฤษ)
  5. YouTube disappears from Thai Internet ข่าวจากบางกอกโพสต์ (อังกฤษ)
  6. YouTube Clip Out, but Thai Ban Continues (อังกฤษ)
  7. Update - ยูทูบลบคลิปแล้ว แต่ไอซีทียังแบนเว็บไซต์ต่อเนื่อง
  8. "Ban on YouTube lifted after deal". The Nation. 31 สิงหาคม พ.ศ. 2550. {{cite news}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |coauthors= (help); ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  9. 9.00 9.01 9.02 9.03 9.04 9.05 9.06 9.07 9.08 9.09 9.10 Sayer, Peter (June 19, 2007). "Google launches YouTube France News". PC Advisor. สืบค้นเมื่อ August 3, 2009.
  10. "Presentan hoy YouTube México" (ภาษาSpanish). El Universal. October 11, 2007. สืบค้นเมื่อ September 9, 2010. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |trans_title= ถูกละเว้น แนะนำ (|trans-title=) (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  11. "中文上線 - YouTube 香港中文版登場!". Stanley5. October 17, 2007. สืบค้นเมื่อ January 2, 2012.
  12. "YouTube台灣網站上線 手機版再等等". ZDNet. October 18, 2007. สืบค้นเมื่อ January 2, 2012.
  13. 13.0 13.1 Nicole, Kristen (October 22, 2007). "YouTube Launches in Australia & New Zealand". Mashable. สืบค้นเมื่อ August 3, 2009.
  14. Nicole, Kristen (November 6, 2007). "YouTube Canada Now Live". Mashable. สืบค้นเมื่อ August 3, 2009.
  15. Ostrow, Adam (November 8, 2007). "YouTube Germany Launches". Mashable. สืบค้นเมื่อ August 3, 2009.
  16. Joshi, Sandeep (May 8, 2008). "YouTube now has an Indian incarnation". The Hindu. Chennai, India. สืบค้นเมื่อ August 3, 2009.
  17. Bokuvka, Petr (October 12, 2008). "Czech version of YouTube launched. And it's crap. It sucks". The Czech Daily Word. Wordpress.com. สืบค้นเมื่อ August 3, 2009.
  18. "YouTube launches in Argentina". September 9, 2010. สืบค้นเมื่อ September 9, 2010.
  19. 19.0 19.1 19.2 19.3 19.4 19.5 19.6 "YouTube Launches Local Version For Algeria, Egypt, Jordan, Morocco, Saudi Arabia, Tunisia and Yemen". ArabCrunch. สืบค้นเมื่อ March 13, 2011.
  20. Nod, Tam (October 13, 2011). "YouTube launches 'The Philippines'". The Philippine Star. สืบค้นเมื่อ October 13, 2011.
  21. "YouTube launches Singapore site". TODAY. 20 October 2011. สืบค้นเมื่อ 20 October 2011.
  22. YouTube launches localized website for Colombia December 1, 2011. Retrieved December 1, 2011.
  23. Google Launches YouTube Uganda December 2, 2011. Retrieved January 15, 2012.
  24. Google to Launch Youtube Nigeria Today December 7, 2011. Retrieved January 15, 2012.
  25. Google launches YouTube Chile March 19, 2012. Retrieved March 22, 2012. Archived มีนาคม 25, 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
  26. Google Launches Hungarian YouTube March 12, 2012. Retrieved March 22, 2012. Archived มกราคม 17, 2013 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
  27. YouTube Launches Local Domain For Malaysia March 22, 2012. Retrieved March 22, 2012.
  28. YouTube Peru Launched, Expansion continues March 27, 2012. Retrieved April 1, 2012.
  29. Bindu Suresh Rai (April 2, 2012). "UAE version of YouTube launched". Emirates 247. สืบค้นเมื่อ February 14, 2014.
  30. "YouTube Launches Indonesian Version", June 15, 2012. Retrieved July 8, 2012.
  31. "Google launches YouTube in Ghana", June 22, 2012. Retrieved July 8, 2012.
  32. "YouTube launches local portal in Senegal", Jubr> ^ [3] itag 120 is for live streaming and has metadata referring to "Elemental Technologies Live".July 16, 2012. Retrieved July 25, 2012.
  33. "YouTube's Turkish version goes into service", October 1, 2012. Retrieved October 1, 2012.
  34. Tarasova, Maryna (December 13, 2012). "YouTube приходить в Україну! (YouTube comes in Ukraine!)" (ภาษายูเครน). Ukraine: Google Ukraine Blog.
  35. "YouTube lanceres i Danmark". Denmark: iProspect. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 7, 2013. สืบค้นเมื่อ April 17, 2013. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  36. Sormunen, Vilja (February 6, 2013). "YouTube Launches in the Nordics". Nordic: KLOK. สืบค้นเมื่อ February 11, 2013.
  37. "YOUTUBE LAUNCHED IN NORWAY". Norway: TONO. สืบค้นเมื่อ April 17, 2013.
  38. "YouTube goes Swiss". Swiss: swissinfo. สืบค้นเมื่อ April 17, 2013.
  39. "YouTube.at since Thursday online". Austria: Wiener Zeitung. สืบค้นเมื่อ April 17, 2013.
  40. "Youtube România se lansează într-o săptămână". Romania: ZF.ro. สืบค้นเมื่อ May 14, 2013.
  41. "Google lança versão lusa do YouTube". Portugal: Luso Noticias. สืบค้นเมื่อ May 14, 2013.
  42. (May 21, 2013). "Slováci už môžu oficiálne zarábať na tvorbe videí pre YouTube" (ภาษาSlovak). Vat Pravda. สืบค้นเมื่อ February 14, 2014. {{cite web}}: แหล่งข้อมูลอื่นใน |author= (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  43. 43.0 43.1 43.2 43.3 43.4 Nick Rego (September 16, 2013). "YouTube expands monetization and partnership in GCC". tbreak Media. สืบค้นเมื่อ February 14, 2014. {{cite web}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help); แหล่งข้อมูลอื่นใน |author= (help)
  44. Ивелина Атанасова (March 18, 2014). "YouTube рекламата става достъпна и за България" (ภาษาBulgarian). New Trend. สืบค้นเมื่อ April 5, 2014. {{cite web}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help); แหล่งข้อมูลอื่นใน |author= (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  45. "Oglašavanje na video platformi YouTube od sad dostupno i u Hrvatskoj" (ภาษาCroatian). Lider. March 19, 2014. สืบค้นเมื่อ April 5, 2014.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  46. Siiri Oden (March 19, 2014). "Youtube reklaamid - uued võimalused nüüd ka Eestis!" (ภาษาEstonian). Meedium. สืบค้นเมื่อ April 5, 2014.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  47. Marta (March 18, 2014). "Tagad reklāmas iespējas Youtube kanālā iespējams izmantot arī Latvijā" (ภาษาLatvian). Marketing. สืบค้นเมื่อ April 5, 2014. {{cite web}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help); แหล่งข้อมูลอื่นใน |author= (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  48. STA (March 18, 2014). "Na Youtube prihajajo tudi slovenski video oglasi" (ภาษาSlovenian). Dnevnik. สืบค้นเมื่อ April 5, 2014.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  49. Asina Pornwasin (April 3, 2014). "YouTube introduces homepage especially". The Nation. สืบค้นเมื่อ April 4, 2014.
  50. 50.0 50.1 50.2 50.3 Stephen Hall (October 12, 2015). "YouTube continues global expansion w/ versions of its site in 7 new locales". 9to5 Google. สืบค้นเมื่อ March 18, 2016.
  51. 51.0 51.1 "YouTube launches Nepal, Pakistan, Sri Lanka-specific homepages". The Himalayan Times. January 13, 2016. สืบค้นเมื่อ January 31, 2016.
  52. "YouTube launches country-specific homepage for Pakistan". The Express Tribune. January 12, 2016. สืบค้นเมื่อ January 31, 2016.

แหล่งข้อมูลอื่น