ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีพร้อมพงษ์"

พิกัด: 13°43′50″N 100°34′11″E / 13.730439°N 100.569731°E / 13.730439; 100.569731
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 36: บรรทัด 36:
ปัจจุบัน สถานีพร้อมพงษ์มีโครงการทำพื้นที่ในการติดตั้งประตูกั้นชานชาลาแบบ Half Height Platform Screen Door เหมือนสถานีสยาม ซึ่งปัจจุบันได้ก่อสร้างเสร็จแล้ว
ปัจจุบัน สถานีพร้อมพงษ์มีโครงการทำพื้นที่ในการติดตั้งประตูกั้นชานชาลาแบบ Half Height Platform Screen Door เหมือนสถานีสยาม ซึ่งปัจจุบันได้ก่อสร้างเสร็จแล้ว


ในอนาคต สถานีนี้จะมีการปรับปรุงพื้นที่ให้กลายเป็น เอ็ม ดิสทริค สเตชัน เพื่อเป็นจุดเชื่อมต่อของศูนย์การค้าในกลุ่ม [[ดิ เอ็ม ดิสทริค]] อันจะเป็นการเปิดย่านการค้าแห่งใหม่ในโซนสุขุมวิทตอนกลาง โดยกลุ่มเดอะมอลล์และบีทีเอสซีจะทำการปรับปรุงตัวสถานีใหม่ทั้งหมด ตั้งแต่โครงสร้างของสถานี รูปแบบการตกแต่งภายในของสถานี และการใช้วัสดุตกแต่งภายในสถานี ซึ่งทั้งหมดจะสอดคล้องเข้ากับรูปแบบ ดิ เอ็ม ดิสทริค ของเดอะมอลล์กรุ๊ป แต่จะยังคงชื่อเป็นสถานีพร้อมพงษ์ตามเดิม<ref>[http://news.voicetv.co.th/business/170997.html BTS ไม่เปลี่ยนชื่อสถานี 'พร้อมพงษ์' เป็น'เอ็ม ดิสทริค']</ref>
ในอนาคต สถานีนี้จะมีการปรับปรุงพื้นที่ให้กลายเป็น เอ็ม ดิสทริค สเตชัน เพื่อเป็นจุดเชื่อมต่อของศูนย์การค้าในกลุ่ม [[ดิ เอ็ม ดิสทริค]] อันจะเป็นการเปิดย่านการค้าแห่งใหม่ในโซนสุขุมวิทตอนกลาง โดยกลุ่มเดอะมอลล์และบีทีเอสซีจะทำการปรับปรุงตัวสถานีใหม่ทั้งหมด ตั้งแต่โครงสร้างของสถานี รูปแบบการตกแต่งภายในของสถานี และการใช้วัสดุตกแต่งภายในสถานี ซึ่งทั้งหมดจะสอดคล้องเข้ากับรูปแบบ ดิ เอ็ม ดิสทริค ของเดอะมอลล์กรุ๊ป แต่จะยังคงชื่อเป็นสถานีพร้อมพงษ์ตามเดิม


=== แผนผัง ===
=== แผนผัง ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:17, 10 เมษายน 2563

แม่แบบ:BTS infobox

สถานีพร้อมพงษ์ (อังกฤษ: Phrom Phong Station, รหัส E5) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิท กรุงเทพมหานคร บริเวณปากซอยสุขุมวิท 39 (ซอยพร้อมพงษ์)

ที่ตั้ง

ถนนสุขุมวิท บริเวณปากซอย 24 (ซอยเกษม) และซอย 39 (ซอยพร้อมพงษ์) ในพื้นที่แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา และแขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร

รูปแบบ

เป็นแบบมีชานชาลาอยู่ 2 ข้าง (side platform station) ขนาดมาตรฐาน กว้างประมาณ 20 เมตร ยาวประมาณ 150 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสาร และชานชาลา

ปัจจุบัน สถานีพร้อมพงษ์มีโครงการทำพื้นที่ในการติดตั้งประตูกั้นชานชาลาแบบ Half Height Platform Screen Door เหมือนสถานีสยาม ซึ่งปัจจุบันได้ก่อสร้างเสร็จแล้ว

ในอนาคต สถานีนี้จะมีการปรับปรุงพื้นที่ให้กลายเป็น เอ็ม ดิสทริค สเตชัน เพื่อเป็นจุดเชื่อมต่อของศูนย์การค้าในกลุ่ม ดิ เอ็ม ดิสทริค อันจะเป็นการเปิดย่านการค้าแห่งใหม่ในโซนสุขุมวิทตอนกลาง โดยกลุ่มเดอะมอลล์และบีทีเอสซีจะทำการปรับปรุงตัวสถานีใหม่ทั้งหมด ตั้งแต่โครงสร้างของสถานี รูปแบบการตกแต่งภายในของสถานี และการใช้วัสดุตกแต่งภายในสถานี ซึ่งทั้งหมดจะสอดคล้องเข้ากับรูปแบบ ดิ เอ็ม ดิสทริค ของเดอะมอลล์กรุ๊ป แต่จะยังคงชื่อเป็นสถานีพร้อมพงษ์ตามเดิม

แผนผัง

ป้ายสถานีรถไฟฟ้า BTS พร้อมพงษ์
U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีเคหะฯ
ชานชาลา 2 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก 1-6, ศูนย์บริการผู้โดยสาร
ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร,
เอ็มดิสทริค แกลลอรี่, ควอเทียร์พาร์ค, ทางเชื่อมเอ็มโพเรียมและเอ็มควอเทียร์
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, วิลล่า มาร์เก็ต สาขาสุขุมวิท 33/1, อุทยานเบญจสิริ, โรงเรียนสายน้ำผึ้ง

ทางเข้า-ออก

  • 1 เอ็มควอเทียร์ (ทางเชื่อมผ่านลานควอเทียร์ ปาร์ค) ป้ายรถประจำทางไปทองหล่อ, ธนาคารออมสิน สาขาพร้อมพงษ์ (บันไดเลื่อน)
  • 2 เอ็มโพเรียม (สะพานเชื่อม), ซอยสุขุมวิท 24, ป้ายรถประจำทางไปอโศก
  • 3 ซอยสุขุมวิท 39 (พร้อมพงษ์)
  • 4 ซอยสุขุมวิท 24 และ 26 (อารีย์), ป้ายรถประจำทางไปอโศก
  • 5 ซอยสุขุมวิท 33 และ 35
  • 6 เอ็มโพเรียม (สะพานเชื่อมผ่านเอ็มดิสทริค แกลลอรี่), อุทยานเบญจสิริ, ซอยสุขุมวิท 22 (ลิฟต์)

จุดรวมพลอยู่ที่ทางออก 3 หน้าปากซอยสุขุมวิท 39

เวลาให้บริการ

ปลายทาง ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายสุขุมวิท
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 05.34 00.19
เคหะฯ 05.38 00.09 / 00.39 (สำโรง)

รถโดยสารประจำทาง

ถนนสุขุมวิท
สายที่ ต้นทาง ปลายทาง หมายเหตุ
องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)
2 สำโรง ปากคลองตลาด
25 ปากน้ำ ท่าช้าง
501 มีนบุรี หัวลำโพง
508 ปากน้ำ ท่าราชวรดิษฐ์
511 ปากน้ำ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ตลิ่งชัน)
รถเอกชนร่วมบริการ
38 สถาบันราชภัฎจันทรเกษม มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยาเขตบางนา
40 แยกลำสาลี เซ็นทรัลพลาซ่า ปิ่นเกล้า
48 มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยาเขตบางนา ท่าเตียน

สถานที่สำคัญใกล้เคียง

ศูนย์การค้าและอาคารสำนักงาน

  • ดิ เอ็ม ดิสทริค (เอ็มโพเรียม เอ็มควอเทียร์ และเอ็มสเฟียร์)
  • วิลล่า มาร์เก็ต สาขาสุขุมวิท 33/1
  • ยูเอฟเอ็ม ฟูจิ ซูเปอร์ สาขาสุขุมวิท 33/1
  • วอชิงตันสแควร์ สุขุมวิท 22
  • มิราเคิล มอลล์
  • อาคารสมัชชาวานิช 2 (ยูบีซี 2)
  • อาคารภิรัช ทาวเวอร์ แอท เอ็มควอเทียร์ (อาคารสมัชชาวานิช 3)
  • อาคารเดอะแกรนด์เศรษฐีวรรณ
  • อาคารอาร์ เอส ยู ทาวเวอร์
  • เรน ฮิลล์ สุขุมวิท 47

โรงแรม

  • โรงแรมอริสตัน
  • โรงแรมโฟร์ วิงส์
  • โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ สุขุมวิท 20
  • โรงแรมรีเจนซี ปาร์ค
  • โรงแรมแมริออท มาร์คีส์ ควีนส์ปาร์ค กรุงเทพ (ชื่อเดิม โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ปาร์ค)
  • โรงแรมเอ็มโพเรียม สวีท บาย ชาเทรียม
  • โรงแรมฮอลิเดย์ อินน์ กรุงเทพ สุขุมวิท
  • โรงแรมเรดิสัน บลู พลาซา กรุงเทพ สุขุมวิท
  • โรงแรมฮิลตัน สุขุมวิท (ชื่อเดิม โรงแรมอิมพีเรียล อิมพาลา)
  • โรงแรมดับเบิลทรี บาย ฮิลตัน สุขุมวิท (ชื่อเดิม โรงแรมอิมพีเรียล ธารา)

ข่าวลือเกี่ยวกับการเปลี่ยนชื่อสถานี

เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 ทางเว็บไซต์ของนิตยสาร Positioning Magazine[1] ได้มีการลงบทความทางหน้าเว็บไซต์เกี่ยวกับการเปลี่ยนชื่อสถานีพร้อมพงษ์เป็น "เอ็ม ดิสทริค สเตชัน" (Em District Station) แต่ต่อมาทางบริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ได้ออกมาชี้แจงต่อสื่อ[2] ว่าไม่มีนโยบายการเปลี่ยนแปลงชื่อสถานีพร้อมพงษ์ตามที่ได้เป็นข่าวออกมาก่อนหน้านี้ อย่างไรก็ตาม ประชาชนบางกลุ่มเชื่อว่า[ต้องการอ้างอิง]การปล่อยข่าวลือดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายการโฆษณาของห้างสรรพสินค้าเอ็มควอเทียร์ ของกลุ่มเดอะมอลล์ ที่มีกำหนดการเปิดให้บริการในอีกไม่กี่วันหลังจากเหตุการณ์ข่าวลือ เพื่อให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์และที่พูดถึงในวงกว้างจากประชาชน[ต้องการอ้างอิง]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

13°43′50″N 100°34′11″E / 13.730439°N 100.569731°E / 13.730439; 100.569731

สถานีใกล้เคียง

สถานีก่อนหน้า เส้นทางรถไฟ สถานีต่อไป
สถานีอโศก
มุ่งหน้า สถานีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:BTS Lines style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีทองหล่อ
มุ่งหน้า สถานีเคหะฯ