อีเอฟแอลคัพ 2019 นัดชิงชนะเลิศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อีเอฟแอลคัพ 2019 นัดชิงชนะเลิศ
สนามกีฬาเวมบลีย์ จะเป็นเจ้าภาพในนัดชิงชนะเลิศ
รายการอีเอฟแอลคัพ ฤดูกาล 2018–19
หลังต่อเวลาพิเศษ
แมนเชสเตอร์ซิตี ชนะ ลูกโทษ 4–3
วันที่24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2019
สนามสนามกีฬาเวมบลีย์, ลอนดอน
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
บือร์นาร์ดู ซิลวา (แมนเชสเตอร์ซิตี)[1]
ผู้ตัดสินโจนาธาน มอสส์ (เวสต์ ยอร์คเชียร์)[2]
ผู้ชม81,775 คน
2018
2020

การแข่งขัน ฟุตบอลลีกคัพ 2019 นัดชิงชนะเลิศ หรือ อีเอฟแอลคัพ 2019 นัดชิงชนะเลิศ เป็นการแข่งขันฟุตบอลที่จะมีขึ้นในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2019 ที่ สนามกีฬาเวมบลีย์ ในกรุงลอนดอน, ประเทศอังกฤษ.[3] ระหว่าง เชลซี และแชมป์เก่า แมนเชสเตอร์ซิตี.[4] ทีมชนะเลิศจะได้ผ่านเข้าสู่รอบคัดเลือกรอบสองของ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 เป็นอย่างน้อย.[4]

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ[แก้]

เชลซี[แก้]

รอบ คู่แข่งขัน ผล
3 ลิเวอร์พูล (A) 2–1
4 ดาร์บี เคาน์ตี (H) 3–2
QF บอร์นมัท (H) 1–0
SF ทอตนัม ฮอตสเปอร์ (A) 0–1
ทอตนัม ฮอตสเปอร์ (H) 2–1 (4–2)
สัญลักษณ์: (H) = สนามเหย้า; (A) = สนามเยือน.

การผ่านเข้ารอบของเชลซีสำหรับ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2018–19 หมายความว่าพวกเขาได้เข้าสู่อีเอฟแอลคัพในรอบที่สาม, พวกเขาได้ถูกจับสลากออกไปเยือนทีมจากพรีเมียร์ลีก ลิเวอร์พูล. หลังจากเป็นฝ่ายตามหลังไปก่อน, ประตูจาก เอเมร์ซง พัลมิเอรี และ เอแดน อาซาร์ ส่งให้เชลซีเอาชนะไปได้ 2–1.[5] ในรอบต่อไป, พวกเขาได้ถูกจับสลากลงเล่นในบ้านพบกับทีมจาก อีเอฟแอลแชมเปียนชิป ดาร์บี เคาน์ตี. เวลานี้, เชลซีเป็นฝ่ายขึ้นนำเร็วไปก่อนจากการทำเข้าประตูตัวเองของ ฟิคาโย โทโมริ, แต่ แจ็ค แมร์ริออตต์ เป็นผู้ทำประตูตีเสมอให้กับดาร์บีในอีกสี่นาทีถัดมา. อีกหนึ่งการทำเข้าประตูตัวเอง, เวลานี้โดย ริชาร์ด คีโอห์, ส่งให้เชลซีขึ้นนำอีกครั้งในนาทีที่ 21, เพียงแต่ มาร์ติน แว็กฮอร์น ส่งผลให้สกอร์เท่ากันในอีกหกนาทีต่อมา. สี่นาที่หลังจบครึ่งแรก, เซสก์ ฟาเบรกัส ทำประตูซึ่งเป็นสิ่งที่กลายเป็นประตูชัย, ในขณะที่ครึ่งหลังไม่มีการทำประตูเกิดขึ้น.[6]

ในรอบที่ห้า, เชลซีถูกจับสลากได้ลงเล่นในบ้านพบกับทีมจากพรีเมียร์ลีก บอร์นมัท, กับอาซาร์อีกครั้งที่พิสูจน์ความแตกต่างระหว่างทั้งสองทีมในชัยชนะ 1–0.[7] รอบรองชนะเลิศเชลซีถูกจับสลากออกมาเป็นศึก อริร่วมเมืองลอนดอน ทอตนัม ฮอตสเปอร์. ประตูแรกจากลูกโทษของ แฮร์รี เคน ส่งให้ทอตนัมเป็นฝ่ายกุมความได้เปรียบก่อนในเลกแรก,[8] แต่ อึงโกโล ก็องเต มาตามตีเสมอให้สกอร์รวมผลสองนัดเท่ากันหลังจากนาทีที่ 27 ของเลกที่สอง. หลังจากนั้นอาซาร์ก็ผลิตสกอร์นำหน้าไปอีกส่งให้เป็นประตูที่สามของพวกเขาในทัวร์นาเมนต์ในนาทีที่ 38, เท่านั้นไม่พอ เฟร์นันโด โยเรนเต เป็นผู้ทำประตูตามตีเสมออีกครั้งห้านาทีก่อนหมดครึ่งแรก. ส่วนที่เหลือของการแข่งขันต่างไม่มีการทำประตูเกิดขึ้น, และนับตั้งแต่กฏประตูทีมเยือนไม่ได้มีผลบังคับใช้,[9] การแข่งขันนัดนี้มุ่งตรงไปยังการดวลลูกโทษตัดสิน. ทั้งสองฝ่ายได้มีการปรับเปลี่ยนของพวกเขาในการลงเตะทั้งสองครั้งในแต่ละครั้ง, หลังจากที่ เอริก ไดเออร์ พยายามยิงประตูให้เข้าแต่กลับเสยคานบนออกไป, โดยคนต่อมา ฌอร์ฌิญญู เป็นผู้ส่งให้เชลซีขึ้นนำ. เกปา อาร์ริซาบาลากา เป็นผู้เซฟประตูจาก ลูกัส มูรา ได้, หลังจากที่ ดาวิด ลูอีซ เป็นผู้ทำประตูได้ส่งให้เชลซีทะลุเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศไปได้.[10]

แมนเชสเตอร์ซิตี[แก้]

รอบ คู่แข่งขัน ผล
3 ออกซฟอร์ด ยูไนเต็ด (A) 3–0
4 ฟูลัม (H) 2–0
รอบก่อนรองชนะเลิศ เลสเตอร์ซิตี (A) 1–1 (3–1)
รอบรองชนะเลิศ เบอร์ตัน อัลเบียน (H) 9–0
เบอร์ตัน อัลเบียน (A) 1–0
สัญลักษณ์: (H) = สนามเหย้า; (A) = สนามเยือน.

แมนเชสเตอร์ซิตีมีสิทธิ์เข้าสู่สำหรับฟุตบอลสโมสรยุโรปอยู่แล้ว, และด้วยเหตุนี้เองพวกเขาจึงได้สิทธิ์เข้าสู่อีเอฟแอลคัพในรอบที่สาม, ถูกจับสลากออกไปเยือนทีมจาก อีเอฟแอลลีกวัน ออกซฟอร์ด ยูไนเต็ด. ที่ สนามกีฬาแคสแซม, แมนเชสเตอร์ซิตี ชนะ 3–0 กับประตูจาก กาบรีแยล เฌซุส, ริยาฎ มะห์รัซ และ ฟิล โฟเดน.[11] ในรอบสี่, พวกเขาได้ถูกจับสลากพบกับสโมสรร่วมพรีเมียร์ลีก ฟูลัม ที่บ้าน. ที่สนามของพวกเขา สนามกีฬาซิตีออฟแมนเชสเตอร์, แมนเชสเตอร์ซิตี ชนะ 2–0 โดยได้สองประตูจาก บราฮิม ดิอัซ.[12] ในรอบต่อไป, พวกเขาถูกจับสลากออกไปเยือนทีมร่วมพรีเมียร์ลีก เลสเตอร์ซิตี. แมตช์นี้จบลงที่ผลเสมอ 1–1 ที่ คิงเพาเวอร์สเตเดียม, กับประตูของ มาร์ก ออลไบรตัน นาทีที่ 73 – แมนเชสเตอร์ซิตีเป็นทีมที่เสียประตูเดียวในเส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ – โดยยกเลิกการเปลี่ยนตัวออกในช่วงต้นเกมของ เกฟิน เดอ เบรยเนอ, แต่แมนเชสเตอร์ซิตีสามารถชนะรักษาผล การดวลลูกโทษ 3–1 และจบลงที่สกอร์นี้.[13]

ในรอบรองชนะเลิศทั้งสองเลก, แมนเชสเตอร์ซิตีถูกจับสลากพบกับทีมจากลีกวัน เบอร์ตัน อัลเบียน. แมนเชสเตอร์ซิตีชนะเลกแรกที่สนามกีฬาซิตีออฟแมนเชสเตอร์ด้วยสกอร์ 9–0 ถือเป็นชัยชนะที่ใหญ่ที่สุดของพวกเขาในรอบ 31 ปี, จากสี่ประตูของเฌซุสและอีกหนึ่งประตูมาจาก เกฟิน เดอ เบรยเนอ, ออแลกซันดร์ ซินแชนกอ, โฟเดน, ไคล์ วอล์กเกอร์ และมะห์รัซ.[14] ในเลกที่สองที่ สนามกีฬาพิเรลลี, เซร์ฆิโอ อาเกวโร เขาเป็นผู้ทำประตูแรกของเขาให้กับการแข่งขันซึ่งส่งให้แมนเชสเตอร์ซิตี ชนะ 1–0 (รวมผลสองนัด ชนะ 10–0) และยืนยันพื้นที่ของพวกเขาในรอบชิงชนะเลิศ.[15]

แมตช์[แก้]

รายละเอียด[แก้]

เชลซี
แมนเชสเตอร์ซิตี
GK 1 สเปน เกปา อาร์ริซาบาลากา
RB 28 สเปน เซซาร์ อัซปิลิกูเอตา (กัปตัน)
CB 2 เยอรมนี อันโทนีโอ รือดีเกอร์ โดนใบเหลือง ใน 72 นาที 72'
CB 30 บราซิล ดาวิด ลูอีซ โดนใบเหลือง ใน 30 นาที 30'
LB 33 อิตาลี แอเมร์ซง
CM 7 ฝรั่งเศส อึงโกโล ก็องเต
CM 5 อิตาลี ฌอร์ฌิญญู โดนใบเหลือง ใน 88 นาที 88'
CM 8 อังกฤษ รอสส์ บาร์กลีย์ Substituted off in the 89 นาที 89'
RF 22 บราซิล วีลียัง Substituted off in the 95 นาที 95'
CF 10 เบลเยียม เอแดน อาซาร์
LF 11 สเปน เปโดร Substituted off in the 79 นาที 79'
ตัวสำรอง:
GK 13 อาร์เจนตินา วิลิ กาบาเยโร
DF 27 เดนมาร์ก แอนเดรียส คริสเตนเซน
MF 12 อังกฤษ รูเบน ลอฟตัส-ชีก Substituted on in the 89 minute 89'
MF 17 โครเอเชีย มาเทออ คอวาชิช
MF 20 อังกฤษ คัลลัม ฮัดสัน-โอดอย Substituted on in the 79 minute 79'
FW 9 อาร์เจนตินา กอนซาโล อิกัวอิน Substituted on in the 95 minute 95'
FW 18 ฝรั่งเศส ออลีวีเย ฌีรู
ผู้จัดการทีม:
อิตาลี เมารีซีโอ ซาร์รี
GK 31 บราซิล แอแดร์ซง
RB 2 อังกฤษ ไคล์ วอล์กเกอร์
CB 30 อาร์เจนตินา นิโกลัส โอตาเมนดิ โดนใบเหลือง ใน 90+1 นาที 90+1'
CB 14 ฝรั่งเศส แอมริก ลาปอร์ต (กัปตัน) Substituted off in the 46 นาที 46'
LB 35 ยูเครน ออแลกซันดร์ ซินแชนกอ
CM 17 เบลเยียม เกฟิน เดอ เบรยเนอ Substituted off in the 86 นาที 86'
CM 25 บราซิล เฟร์นังจิญญู โดนใบเหลือง ใน 58 นาที 58' Substituted off in the 91 นาที 91'
CM 21 สเปน ดาบิด ซิลบา Substituted off in the 79 นาที 79'
RF 20 โปรตุเกส บือร์นาร์ดู ซิลวา
CF 10 อาร์เจนตินา เซร์ฆิโอ อาเกวโร
LF 7 อังกฤษ ราฮีม สเตอร์ลิง
ตัวสำรอง:
GK 49 คอซอวอ อาริจาเนต มูริช
DF 3 บราซิล ดานีลู Substituted on in the 91 minute 91'
DF 4 เบลเยียม แว็งซ็อง กงปานี Substituted on in the 46 minute 46'
MF 8 เยอรมนี อิลไค กึนโดอัน Substituted on in the 79 minute 79'
MF 19 เยอรมนี ลีร็อย ซาเน Substituted on in the 86 minute 86'
MF 26 แอลจีเรีย ริยาฎ มะห์รัซ
MF 47 อังกฤษ ฟิล โฟเดน
ผู้จัดการทีม:
สเปน เปป กวาร์ดีโอลา

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
บือร์นาร์ดู ซิลวา (แมนเชสเตอร์ซิตี)[1]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
Andy Halliday (Army)
Marc Perry (West Midlands)
ผู้ตัดสินที่สี่:[2]
Paul Tierney (Lancashire)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:[2]
Constantine Hatzidakis (Kent)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[2]
Martin Atkinson (West Yorkshire)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินจากผู้ช่วยผู้ตัดสินวีดิโอ:[2]
Steve Child (London)

กฏ-กติกา[16]

  • แข่งขัน 90 นาที.
  • ถ้าเสมอกันต้องต่อเวลาพิเศษ 30 นาที.
  • ดวลจุดโทษตัดสินหาผู้ชนะถ้าเสมอกันใน 120 นาที.
  • เปลี่ยนตัวสำรองได้ถึง 3 คนในช่วงเวลา 90 นาที, แต่สามารถอนุญาตใช้เปลี่ยนตัวผู้เล่นลงสนามคนที่สี่ในช่วงต่อเวลาพิเศษ.

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 @Carabao_Cup (24 February 2019). "Your 2019 Carabao Cup Final Man of the Match is the impressive @BernardoCSilva! #EFL | #CarabaoCupFinal" (ทวีต). สืบค้นเมื่อ 24 February 2019 – โดยทาง ทวิตเตอร์.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 "Carabao Cup Final: match officials named". EFL.com. English Football League. 7 February 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2019. สืบค้นเมื่อ 24 February 2019.
  3. "Key Dates". English Football League. สืบค้นเมื่อ 22 January 2019.
  4. 4.0 4.1 Goal (17 January 2019). "Carabao Cup 2019 final: How to watch, tickets, teams, time & date". Goal.com. สืบค้นเมื่อ 22 January 2019.
  5. Hafez, Shamoon (27 September 2018). "Liverpool 1–2 Chelsea". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 24 January 2019.
  6. Sanders, Emma (31 October 2018). "Chelsea 3–2 Derby: Blues win dramatic Carabao Cup tie to reach last eight". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 24 January 2019.
  7. Emons, Michael (19 December 2018). "Chelsea 1–0 Bournemouth: Eden Hazard goal sends Blues into semi-finals". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 24 January 2019.
  8. McNulty, Phil (8 January 2019). "Tottenham 1–0 Chelsea, Carabao Cup – Harry Kane's penalty gives Spurs advantage". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 24 January 2019.
  9. "No away goals rule tonight at Chelsea". tottenhamhotspur.com. Tottenham Hotspur FC. 24 January 2019. สืบค้นเมื่อ 24 January 2019.
  10. Johnston, Neil (24 January 2019). "Carabao Cup: Chelsea 2–1 Tottenham (2–2 agg, Chelsea win 4–2 on pens)". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 24 January 2019.
  11. McNulty, Phil (25 September 2018). "Oxford United 03 Manchester City: Carabao Cup holders see off League One strugglers". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 23 January 2019.
  12. Bevan, Chris (1 November 2018). "Carabao Cup: Man City beat Fulham 2–0 to reach quarter-finals". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 23 January 2019.
  13. Hafez, Shamoon (18 December 2018). "Leicester City 1–1 Manchester City (1–3 pens)". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 23 January 2019.
  14. Emons, Michael (9 January 2019). "Manchester City 9–0 Burton Albion: Gabriel Jesus scores four in Carabao Cup semi-final". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 23 January 2019.
  15. Begley, Emlyn (23 January 2019). "Manchester City reach Carabao Cup final with 10–0 aggregate win over Burton Albion". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 23 January 2019.
  16. "Regulations". EFL.com. English Football League. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2019. สืบค้นเมื่อ 24 February 2018.