ยูฟ่ายูโรปาลีก นัดชิงชนะเลิศ 2019

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูฟ่ายูโรปาลีก นัดชิงชนะเลิศ 2019
รายการยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2018–19
วันที่29 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
สนามสนามกีฬาโอลิมปิก, บากู
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
เอแดน อาซาร์ (เชลซี)[1]
ผู้ตัดสินจันลูกา รอคคี (อิตาลี)[2]
ผู้ชม51,370 คน[3]
สภาพอากาศกลางคืนท้องฟ้าสดใส
21 องศาเซลเซียส (70 องศาฟาเรนไฮต์)
74% ความชื้นสัมพัทธ์[4]
2018
2020

ยูฟ่ายูโรปาลีก นัดชิงชนะเลิศ 2019 เป็นการแข่งขันฟุตบอลนัดชิงชนะเลิศของยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2018–19, ฤดูกาลที่ 48 ของการแข่งขันฟุตบอลสโมสรลำดับที่สองของยุโรป จัดขึ้นโดย ยูฟ่า, และเป็นฤดูกาลที่ 10 นับตั้งแต่เปลี่ยนชื่อจากยูฟ่า คัพ มาเป็น ยูฟ่ายูโรปาลีก. นัดนี้จะลงเล่นที่ สนามกีฬาโอลิมปิก ใน บากู, ประเทศอาเซอร์ไบจาน เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019).[5] เริ่มจากฤดูกาลนี้, ยูโรปาลีก นัดชิงชนะเลิศจะลงเล่นในสัปดาห์เดียวกันกับแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ.[6]

ทีม[แก้]

ในตารางด้านล่างนี้, นัดชิงชนะเลิศจนถึงปี ค.ศ. 2009 เป็นยุคยูฟ่าคัพ, นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 เป็นยุคยูฟ่ายูโรปาลีก.

ทีม จำนวนการลงสนามรอบชิงชนะเลิศครั้งที่ผ่านมา (ตัวหนาหมายถึงทีมชนะเลิศ)
อังกฤษ เชลซี 1 (2013)
อังกฤษ อาร์เซนอล 1 (2000)

การคัดเลือกเจ้าภาพ[แก้]

เป็นครั้งแรกเลยทีเดียว, กระบวนการการเปิดประมูลนั้นได้เปิดตัวไปเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016) โดยยูฟ่าเพื่อเลือกสถานที่แข่งขันของการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศสโมสร (ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก, ยูฟ่ายูโรปาลีก, ยูฟ่าวีเมนส์แชมเปียนส์ลีก, และ ยูฟ่าซูเปอร์คัพ).[7][8] แต่ละสมาคมจะมีถึงวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017) เพื่อแสดงความสนใจ, และเอกสารการยื่นประมูลจะต้องส่งภายในวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017).

ยูฟ่าได้ประกาศเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017) ว่าหกสมาคมได้แสดงความสนใจในการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพ,[9] และได้รับการยืนยันเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017) ว่าสามสมาคมได้ส่งการเสนอราคาประมูลสำหรับยูฟ่ายูโรปาลีก นัดชิงชนะเลิศ 2019:[10]

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพยูฟ่ายูโรปาลีก รอบชิงชนะเลิศ 2019
ประเทศ สนาม เมือง ความจุ หมายเหตุ
 อาเซอร์ไบจาน สนามกีฬาโอลิมปิกบากู บากู 69,870 ยังเสนอราคาสำหรับ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2019
 สเปน สนามกีฬารามอน ซันเชซ ปิซฆวน เซบิยา 42,500
 ตุรกี โวดาโฟนพาร์ก อิสตันบูล 41,903 ยังเสนอราคาสำหรับ ยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2019

สมาคมต่อไปนี้แสดงความสนใจในการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพแต่ในที่สุดก็ไม่ได้ส่งการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพ:

รายงานการประเมินราคาการประมูลได้รับการตีพิมพ์โดยยูฟ่าเมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017).[12] สนามกีฬาโอลิมปิกบากู ได้รับเลือกให้เป็นสถานที่จัดการแข่งขันโดยคณะกรรมการบริหารยูฟ่าเมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017), ในขณะที่โวดาโฟนพาร์กได้ประสบความสำเร็จในการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพสำหรับ ยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2019.[13][5]

สนามแข่งขัน[แก้]

สนาม สนามกีฬาโอลิมปิก ใน บากู จะเป็นเจ้าภาพนัดชิงชนะเลิศ

นี่เป็นการจัดการแข่งขันสโมสรยุโรปรอบชิงชนะเลิศครั้งแรกที่จัดขึ้นในประเทศอาเซอร์ไบจาน. สนามได้รับการประกาศให้เป็นหนึ่งในสังเวียนของ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2020..[14]

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ[แก้]

หมายเหตุ: ในตาราง, ผลการแข่งขันของผู้เข้าชิงชนะเลิศจะได้รับเป็นชื่อแรก (H = เหย้า; A = เยือน).

อังกฤษ เชลซี รอบ อังกฤษ อาร์เซนอล
คู่แข่งขัน ผล รอบแบ่งกลุ่ม คู่แข่งขัน ผล
กรีซ ปาโอก 1–0 (A) นัดที่ 1 ยูเครน วอร์สคลา ปอลตาวา 4–2 (H)
ฮังการี เอ็มโอแอล วิดิ 1–0 (H) นัดที่ 2 อาเซอร์ไบจาน คาราบัก 3–0 (A)
เบลารุส บาเต บอรีซอฟ 3–1 (H) นัดที่ 3 โปรตุเกส สปอร์ติง ลิสบอน 1–0 (A)
เบลารุส บาเต บอรีซอฟ 1–0 (A) นัดที่ 4 โปรตุเกส สปอร์ติง ลิสบอน 0–0 (H)
กรีซ ปาโอก 4–0 (H) นัดที่ 5 ยูเครน วอร์สคลา ปอลตาวา 3–0 (A)
ฮังการี เอ็มโอแอล วิดิ 2–2 (A) นัดที่ 6 อาเซอร์ไบจาน คาราบัก 1–0 (H)
ชนะเลิศ กลุ่ม L
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1 อังกฤษ เชลซี 6 16
2 เบลารุส บาเต บอรีซอฟ 6 9
3 ฮังการี เอ็มโอแอล วิดิ 6 7
4 กรีซ ปาโอก 6 3
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
ตารางคะแนน ชนะเลิศ กลุ่ม E
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1 อังกฤษ อาร์เซนอล 6 16
2 โปรตุเกส สปอร์ติง ลิสบอน 6 13
3 ยูเครน วอร์สคลา ปอลตาวา 6 3
4 อาเซอร์ไบจาน คาราบัก 6 3
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดที่สอง รอบแพ้คัดออก คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดที่สอง
สวีเดน มัลเมอ เอฟเอฟ 5–1 2–1 (A) 3–0 (H) รอบ 32 ทีมสุดท้าย เบลารุส บาเต บอรีซอฟ 3–1 0–1 (A) 3–0 (H)
ยูเครน ดีนาโม คียิว 8–0 3–0 (H) 5–0 (A) รอบ 16 ทีมสุดท้าย ฝรั่งเศส แรน 4–3 1–3 (A) 3–0 (H)
เช็กเกีย สลาเวีย ปราก 5–3 1–0 (A) 4–3 (H) รอบก่อนรองชนะเลิศ อิตาลี นาโปลี 3–0 2–0 (H) 1–0 (A)
เยอรมนี ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท 2–2 (4–3 p) 1–1 (A) 1–1
(ต่อเวลา) (H)
รอบรองชนะเลิศ สเปน บาเลนเซีย 7–3 3–1 (H) 4–2 (A)

ก่อนการแข่งขัน[แก้]

ทูต[แก้]

ทูตสำหรับนัดชิงชนะเลิศเป็นอดีตนักเตะทีมชาติเนเธอร์แลนด์ ปีแยร์ ฟัน โฮยโดงก์,[15] ผู้ที่เคยชนะเลิศใน ยูฟ่าคัพ ฤดูกาล 2001–02 กับ ไฟเยอโนร์ด และจบลงในฐานะดาวซัลโวสูงสุด,[16] ซึ่งเขายิงสองประตูใน นัดชิงชนะเลิศ ชนะในนัดที่พบกับ โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์.[17][18]

การจำหน่ายตั๋ว[แก้]

ด้วยตัวสนามแข่งขันมีความจุรองรับได้ 64,000 คนสำหรับเกมนัดชิงชนะเลิศ, จากจำนวนตั๋วเข้าชมทั้งหมด 37,500 ใบ ได้ถูกจำหน่ายไปให้กับแฟนบอลและประชาชนทั่วไป,[19] กับทีมที่เข้าชิงชนะเลิศทั้งสองทีมนั้นแต่ละฝั่งจะได้รับตั๋วไปจำหน่าย (รอการยืนยันจำนวนใบ) และตั๋วเข้าชมการแข่งขันอีก (รอการยืนยันจำนวนใบ) พร้อมจำหน่ายให้กับแฟนๆ ทั่วโลกผ่านทางเว็บไซต์ UEFA.com ตั้งแต่วันที่ 7 ถึง 21 มีนาคม 2562 ในสี่หมวดราคา: €140, €90, €50, และ €30. ส่วนตั๋วที่เหลือจะจัดสรรให้กับคณะกรรมการจัดงานท้องถิ่น, ยูฟ่า และชาติสมาชิก, ห้างหุ้นส่วนร้านค้า และสถานีการถ่ายทอดต่างๆ, และเพื่อรองรับโปรแกรมในการต้อนรับ.[20]

แมตช์[แก้]

รายละเอียด[แก้]

ทีม "เจ้าบ้าน" (สำหรับวัตถุประสงค์ในการจัดการ) จะถูกกำหนดขึ้นโดยการจับสลากเกิดขึ้นหลังจากเสร็จสิ้นการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศและรอบรองชนะเลิศ, ที่ได้จัดขึ้นไปแล้วเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019), 13:00 CEST, ที่สำนักงานใหญ่ยูฟ่าในเมือง นียง, ประเทศสวิตเซอร์แลนด์.[21][22]

เชลซี[4]
อาร์เซนอล[4]
GK 1 สเปน เกปา อาร์ริซาบาลากา
RB 28 สเปน เซซาร์ อัซปิลิกูเอตา (c)
CB 27 เดนมาร์ก แอนเทรแอส เครสเตินเซิน โดนใบเหลือง ใน 68 นาที 68'
CB 30 บราซิล ดาวิด ลูอีซ
LB 33 อิตาลี แอแมร์ซง ปัลมีเอรี
CM 7 ฝรั่งเศส อึงโกโล ก็องเต
CM 5 อิตาลี ฌอร์ฌิญญู
CM 17 โครเอเชีย มาเทออ คอวาชิช Substituted off in the 76 นาที 76'
RF 11 สเปน เปโดร โดนใบเหลือง ใน 56 นาที 56' Substituted off in the 71 นาที 71'
CF 18 ฝรั่งเศส ออลีวีเย ฌีรู
LF 10 เบลเยียม เอแดน อาซาร์ Substituted off in the 89 นาที 89'
ตัวสำรอง:
GK 13 อาร์เจนตินา วิลิ กาบาเยโร
GK 52 อังกฤษ เจมี คัมมิง
DF 3 สเปน มาร์โกส อาลอนโซ
DF 21 อิตาลี ดาวีเด ซัปปากอสตา Substituted on in the 89 minute 89'
DF 24 อังกฤษ แกรี เคฮิลล์
DF 44 เวลส์ อีทัน อัมปาดู
MF 8 อังกฤษ รอสส์ บาร์กลีย์ Substituted on in the 76 minute 76'
MF 51 อังกฤษ คอนอร์ กัลลาเกอร์
MF 55 อังกฤษ จอร์จ มัคอีชรัน
FW 9 อาร์เจนตินา กอนซาโล อิกัวอิน
FW 22 บราซิล วีลียัง Substituted on in the 71 minute 71'
ผู้จัดการทีม:
อิตาลี เมารีซีโอ ซาร์รี
GK 1 เช็กเกีย แปเตอร์ แช็ค
CB 5 กรีซ โซกราติส ปาปัสตาโทปูโลส
CB 6 ฝรั่งเศส โลร็อง โกเซียลนี (c)
CB 18 สเปน นาโช มอนเรอัล Substituted off in the 66 นาที 66'
RM 15 อังกฤษ เอนส์ลีย์ เมตแลนด์-ไนลส์
CM 11 อุรุกวัย ลูกัส ตอร์เรย์รา Substituted off in the 67 นาที 67'
CM 34 สวิตเซอร์แลนด์ กรานิต จากา
LM 31 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เซอัด คอลาชินัตส์
AM 10 เยอรมนี เมซุท เออซิล Substituted off in the 78 นาที 78'
CF 9 ฝรั่งเศส อาแล็กซ็องดร์ ลากาแซ็ต
CF 14 กาบอง ปีแยร์-แอเมอริก โอบาเมอย็องก์
ตัวสำรอง:
GK 19 เยอรมนี แบนท์ เลโน
GK 44 มาซิโดเนียเหนือ เดยัน อิลิเอฟ
DF 12 สวิตเซอร์แลนด์ ชเต็ฟฟัน ลิชท์ชไตเนอร์
DF 20 เยอรมนี ชโคดรัน มุสทาฟี
DF 25 อังกฤษ คาร์ล เจนคินสัน
MF 4 อียิปต์ มุฮัมมัด อันนินนี
MF 29 ฝรั่งเศส มาเตโอ แกนดูซี Substituted on in the 66 minute 66'
MF 59 อังกฤษ โจ วิลล็อก Substituted on in the 78 minute 78'
FW 17 ไนจีเรีย อเล็กซ์ อิโวบี Substituted on in the 67 minute 67'
FW 23 อังกฤษ แดนนี เวลเบก
FW 49 อังกฤษ เอ็ดดี เอ็นเคเตียห์
FW 87 อังกฤษ บูคาโย ซาคา
ผู้จัดการทีม:
สเปน อูไน เอเมรี

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
เอแดน อาซาร์ (เชลซี)[1]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:
ฟิลิปโป เมลี (อิตาลี)
โลเรนโซ มันกาเนลลี (อิตาลี)
ผู้ตัดสินที่สี่:
ดานิเอเล โอร์ซาโต (อิตาลี)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[2]
มัสซิมิเลียโน เอียร์ราติ (อิตาลี)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินจากการใช้วิดีโอตัดสิน:[2]
มาร์โค กุยดา (อิตาลี)
ชือมอน มาร์ซิเนียค (โปแลนด์)
Offside video assistant referee:[2]
ปาแว็ล ซอคอลนิคกิ (โปแลนด์)

ข้อมูลในการแข่งขัน[23]

  • แข่งขันเวลาปกติ 90 นาที
  • ต่อเวลาพิเศษไปอีก 30 นาที เมื่อทั้งสองทีมเสมอกันในเวลาปกติ
  • ตัดสินด้วยการดวลลูกจุดโทษ เพื่อหาผู้ชนะ
  • มีชื่อรายชื่อผู้เล่นสำรอง 12 คน
  • การเปลี่ยนตัวผู้เล่นสูงสุดสามคน, กับอนุญาตเปลี่ยนผู้เล่นคนที่สี่ได้ในช่วงต่อเวลาพิเศษ

สถิติ[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "Chelsea win the 2019 UEFA Europa League". UEFA.com. Union of European Football Associations. 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 "Referee team appointed for UEFA Europa League final in Baku". UEFA.com. Union of European Football Associations. 13 May 2019. สืบค้นเมื่อ 13 May 2019.
  3. 3.0 3.1 "Full Time Summary Final – Chelsea v Arsenal" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  4. 4.0 4.1 4.2 "Tactical Lineups – Final – Wednesday 29 May 2019" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  5. 5.0 5.1 "Madrid to host UEFA Champions League Final 2019". UFEA.com. Union of European Football Associations. 20 September 2017. สืบค้นเมื่อ 20 September 2017.
  6. "UEFA Europa League Final 2019 to be played on 29 May". UEFA. 4 April 2017.
  7. "Lyon to host 2018 UEFA Europa League final". UEFA. 9 December 2016.
  8. "UEFA club competition finals 2019: bid regulations" (PDF). UEFA.
  9. "15 associations interested in hosting 2019 club finals". UEFA. 3 February 2017.
  10. "Ten associations bidding to host 2019 club finals". 7 June 2017.
  11. "Europa-League-Finale 2019: DFB bewirbt sich mit Stuttgart". Kicker. 7 April 2017.
  12. "UEFA Club Competition Finals 2019 Evaluation Report" (PDF). UEFA.com.
  13. "UEFA Executive Committee agenda for Nyon meeting". UEFA.com. 7 September 2017.
  14. "Baku to host 2019 UEFA Europa League final". UEFA.com. 20 September 2017.
  15. "Arsenal draw Napoli in pick of Europa League quarter-finals". France 24. Agence France-Presse. 15 April 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 May 2019. สืบค้นเมื่อ 17 May 2019.
  16. "Europa League 2001/2002 » Top Scorer". WorldFootball.net. สืบค้นเมื่อ 24 March 2015.
  17. "Feyenoord seal Uefa Cup win". BBC Sport. British Broadcasting Corporation. 8 May 2002. สืบค้นเมื่อ 21 December 2017.
  18. "Final joy for Feyenoord". UEFA. 9 May 2002. สืบค้นเมื่อ 21 December 2017.
  19. "Europa League final: supporter information". arsenal.com. Arsenal FC. 9 May 2019. สืบค้นเมื่อ 13 May 2019.
  20. "37,500 tickets available to general public for 2019 UEFA Europa League final in Baku". UEFA.com. Union of European Football Associations. 28 February 2019.
  21. "2018/19 Europa League match and draw calendar". UEFA.com. Union of European Football Associations. 9 January 2018. สืบค้นเมื่อ 9 January 2018.
  22. "UEFA Europa League quarter-final, semi-final and final draws". UEFA.com.
  23. "2018/19 UEFA Europa League regulations" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 May 2018. สืบค้นเมื่อ 12 May 2018.
  24. 24.0 24.1 24.2 "Team statistics" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 29 May 2019. สืบค้นเมื่อ 29 May 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]