อีเอฟแอลคัพ 2020 นัดชิงชนะเลิศ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อีเอฟแอลคัพ 2020 นัดชิงชนะเลิศ
รายการอีเอฟแอลคัพ ฤดูกาล 2019–20
วันที่1 มีนาคม ค.ศ. 2020
สนามสนามกีฬาเวมบลีย์, ลอนดอน
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
ฟิล โฟเดน (แมนเชสเตอร์ซิตี)[1]
ผู้ตัดสินลี เมสัน (เกรทเตอร์ แมนเชสเตอร์)[2]
ผู้ชม82,145 คน
2019
2021

การแข่งขัน ฟุตบอลลีกคัพ 2020 นัดชิงชนะเลิศ หรือ อีเอฟแอลคัพ 2020 นัดชิงชนะเลิศ เป็นการแข่งขันฟุตบอลที่จะมีขึ้นในวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 2020 ที่ สนามกีฬาเวมบลีย์ ในกรุงลอนดอน, ประเทศอังกฤษ.[3] ระหว่าง แอสตันวิลลา และ แมนเชสเตอร์ซิตี. ทีมชนะเลิศจะได้ผ่านเข้าสู่รอบคัดเลือกรอบสองของ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2020–21 เป็นอย่างน้อย..[4]

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ[แก้]

แอสตันวิลลา[แก้]

รอบ คู่แข่งขัน ผล
2 ครูว์อเล็กซานดรา (A) 6–1
3 ไบรตันแอนด์โฮฟอัลเบียน (A) 3–1
4 วุลเวอร์แฮมป์ตันวอนเดอเรอส์ (H) 2–1
QF ลิเวอร์พูล (H) 5–0
SF เลสเตอร์ซิตี (A) 1–1
เลสเตอร์ซิตี (H) 2–1
สัญลักษณ์: (H) = เหย้า; (A) = เยือน

แอสตันวิลลา, ในฐานะทีมจาก พรีเมียร์ลีก ไม่ได้มีส่วนร่วมในการแข่งขันฟุตบอลสโมสรยุโรป, เริ่มต้นในรอบสองโดยที่พวกเขาลงเล่นพบกับสโมสรจาก อีเอฟแอลลีกทู ครูว์อเล็กซานดรา ในการออกไปเยือน. ที่ เกรสตีโรด, แอสตันวิลลา ชนะ 6–1 กับสองประตูจาก คอนอร์ ฮูริเฮน เช่นเดียวกันกับหนึ่งประตูจาก เอซรี คอนซา, ไคนัน เดวิส, แฟรเดอริก กีล์แบร์ต และ แจ็ก กรีลิช.[5] ในรอบสาม, พวกเขาลงเล่นคู่แข่งร่วมพรีเมียร์ลีก ไบรตันแอนด์โฮฟอัลเบียน ออกไปเยือนที่ สนามกีฬาฟัลเมอร์. วิลลา ชนะ 3–1 กับประตูที่มาจาก โฆตา, ฮูริเฮน และ กรีลิช.[6] ในรอบต่อไป, พวกเขาถูกจับสลากพบกับทีมจากพรีเมียร์ลีก วุลเวอร์แฮมป์ตันวอนเดอเรอส์ ที่รังเหย้า. ที่ วิลลาพาร์ก, พวกเขาสามารถผ่านเข้าสู่รอบต่อไปด้วยชัยชนะ 2–1 จากการขอบคุณสู่ประตูที่มาจาก อันวาร์ เอล กาซี และ อะห์มัด อัลมุฮัมมะดี.[7]

ในรอบก่อนรองชนะเลิศพวกเขาลงเล่นพบกับทีมจากพรีเมียร์ลีกและแชมป์สโมสรยุโรป ลิเวอร์พูล ที่ วิลลาพาร์ก. ลิเวอร์พูลลงเล่นโดยใช้ทีมชุดเยาวชนของพวกเขาเนื่องจากทีมชุดใหญ่กำลังแข่งขันใน ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2019 ในประเทศกาตาร์, และวิลลา ชนะ 5–0 กับประตูที่มาจาก ฮูริเฮน, สองประตูจาก โฌนาท็อง ค็อดเฌีย, เวสลีย์ และการทำเข้าประตูตัวเองโดย มอร์แกน บอยส์.[8] ในรอบรองชนะเลิศสองนัดพวกเขาลงเล่นพบกับทีมจากพรีเมียร์ลีก เลสเตอร์ซิตี. หลังจากผลเสมอ 1–1 ในเลกแรกที่ออกไปเยือนที่ คิงเพาเวอร์สเตเดียม,[9] วิลลาทะลุเข้าสู่นัดชิงชนะเลิศหลังจากชนะ 2–1 ที่วิลลาพาร์กกับประตูที่มาจาก แมตต์ ทาร์เกตต์ และนาทีที่ 93 กับประตูชัยมาจาก เทรแซแก ทำให้รวมผลสองนัด ชนะไปได้ 3–2.[10]

แมนเชสเตอร์ซิตี[แก้]

รอบ คู่แข่งขัน ผล
3 เพรสตันนอร์ทเอนด์ (A) 3–0
4 เซาแทมป์ตัน (H) 3–1
QF ออกซฟอร์ดยูไนเต็ด (A) 3–1
SF แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (A) 3–1
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (H) 0–1
สัญลักษณ์: (H) = เหย้า; (A) = เยือน

แชมป์เก่าอีเอฟแอลคัพ 2019 แมนเชสเตอร์ซิตี, ในฐานะทีมจากพรีเมียร์ลีกมีส่วนร่วมใน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20, เริ่มต้นการแข่งขันในรอบสาม. พวกเขาถูกจับสลากเป็นครั้งแรกออกไปเยือนทีมจาก อีเอฟแอลแชมเปียนชิป เพรสตันนอร์ทเอนด์. ที่ ดีปเดล, ซิตี ชนะ 3–0 กับแต่ละประตูมาจาก ราฮีม สเตอร์ลิง, กาบรีแยล เฌซุส และหนึ่งการทำเข้าประตูตัวเองจาก ไรอัน เลดสัน.[11] ในรอบต่อไป, พวกเขาถูกจับสลากเจอกับทีมร่วมพรีเมียร์ลีก เซาแทมป์ตัน ที่รังเหย้า. ที่ สนามกีฬาซิตีออฟแมนเชสเตอร๋, พวกเขาชนะ 3–1 กับสองประตูจาก เซร์ฆิโอ อาเกวโร และหนึ่งประตูจาก นิโกลัส โอตาเมนดิ.[12]

ในรอบห้า, พวกเขาลงเล่นพบกับทีมจากลีกวัน ออกซฟอร์ดยูไนเต็ด ออกไปเยือนที่ สนามกีฬาแคสแซม. ซิตี ชนะ 3–1 กับสองประตูจากสเตอร์ลิงและหนึ่งประตูจาก ฌูเวา กังเซลู. ในรอบรองชนะเลิศสองเลก, พวกเขาถูกจับสลากพบกับทีมร่วมพรีเมียร์ลีกและคู่อริ แมนเชสเตอร์ดาร์บี แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด. ซิตีควานหาชัยชนะไปได้ก่อนด้วยสกอร์ 3–1 ในเลกแรกที่สนาม โอลด์แทรฟฟอร์ด, กับแต่ละประตูที่มาจาก บือร์นาร์ดู ซิลวา, ริยาฎ มะห์รัซ และการทำเข้าประตูตัวเองหนึ่งลูกโดย อังเดรอัส เปไรรา.[13] แม้จะมีการพ่ายแพ้ 1–0 ที่รังเหย้าของพวกเขาในเลกที่สอง, พวกเขาสามารถทะลุเข้าสู่นัดชิงชนะเลิศกับสกอร์รวมผลสองนัด 3–2.[14] ซิตีกำลังมองหาในการรักษาป้องกันแชมป์อีเอฟแอลคัพให้ได้เป็นปีที่สามติดต่อกัน.[14]

แมตช์[แก้]

รายละเอียด[แก้]

แอสตันวิลลา
แมนเชสเตอร์ซิตี
GK 25 นอร์เวย์ ออร์ยาน นีลันด์
RB 24 ฝรั่งเศส เฟรเดริก กีแบร์ต
CB 22 เบลเยียม บีเยือร์น เอนเจลส์
CB 40 อังกฤษ ไทโรน มิงส์ โดนใบเหลือง ใน 90+2 นาที 90+2'
LB 18 อังกฤษ แมตต์ ทาร์เกตต์
CM 6 บราซิล โดกลัส ลูอีซ
CM 11 ซิมบับเว มาร์เวลัส นากัมบา โดนใบเหลือง ใน 72 นาที 72'
RW 27 อียิปต์ อะห์มัด อัลมุฮัมมะดี โดนใบเหลือง ใน 68 นาที 68' Substituted off in the 70 นาที 70'
AM 10 อังกฤษ แจ็ก กรีลิช (กัปตัน)
LW 21 เนเธอร์แลนด์ อันวาร์ เอล กาซี Substituted off in the 70 นาที 70'
CF 20 แทนซาเนีย เอ็มบวานา ซามัตตา Substituted off in the 80 นาที 80'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 29 สเปน เปเป เรย์นา
DF 3 เวลส์ นีล เทย์เลอร์
DF 15 อังกฤษ เอซรี คอนซา
MF 8 อังกฤษ เฮนรี แลนส์บิวรี
MF 14 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ คอนอร์ ฮูริเฮน Substituted on in the 70 minute 70'
MF 17 อียิปต์ เทรเซแก Substituted on in the 70 minute 70'
FW 39 อังกฤษ ไคนัน เดวิส Substituted on in the 80 minute 80'
ผู้จัดการทีม:
อังกฤษ ดีน สมิธ
GK 1 ชิลี เกลาดิโอ บราโบ
RB 2 อังกฤษ ไคล์ วอล์กเกอร์
CB 5 อังกฤษ จอห์น สโตนส์
CB 25 บราซิล เฟร์นังจิญญู
LB 11 ยูเครน ออแลกซันดร์ ซินแชนกอ
CM 8 เยอรมนี อิลไค กึนโดอัน Substituted off in the 58 นาที 58'
CM 16 สเปน โรดริ โดนใบเหลือง ใน 60 นาที 60'
RM 47 อังกฤษ ฟิล โฟเดน
AM 21 สเปน ดาบิด ซิลบา (กัปตัน) Substituted off in the 77 นาที 77'
LM 7 อังกฤษ ราฮีม สเตอร์ลิง โดนใบเหลือง ใน 57 นาที 57'
CF 10 อาร์เจนตินา เซร์ฆิโอ อาเกวโร Substituted off in the 84 นาที 84'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 31 บราซิล แอแดร์ซง
DF 22 ฝรั่งเศส แบ็งฌาแม็ง แมนดี
DF 30 อาร์เจนตินา นิโกลัส โอตาเมนดิ
MF 17 เบลเยียม เกฟิน เดอ เบรยเนอ Substituted on in the 58 minute 58'
MF 20 โปรตุเกส บือร์นาร์ดู ซิลวา Substituted on in the 77 minute 77'
MF 26 แอลจีเรีย ริยาฎ มะห์รัซ
FW 9 บราซิล กาบรีแยล เฌซุส Substituted on in the 84 minute 84'
ผู้จัดการทีม:
สเปน เปป กวาร์ดิโอลา

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
ฟิล โฟเดน (แมนเชสเตอร์ซิตี)[1]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:
เอียน ฮัสซิน (ลิเวอร์พูล)
แฮร์รี เลนนาร์ด (อีสต์ซัสเซกซ์)
ผู้ตัดสินที่สี่:
เดวิด คูเต (นอตติงงัมเชียร์)
Video assistant referee:[2]
ไมก์ ดีน (Wirral)
Assistant video assistant referee:
นีล เดวีส์ (ลอนดอน)

กฏ-กติกา[15]

  • แข่งขัน 90 นาที.
  • ถ้าเสมอกันต้องต่อเวลาพิเศษ 30 นาที.
  • ดวลจุดโทษตัดสินหาผู้ชนะถ้าเสมอกันใน 120 นาที.
  • รายชื่อผู้เล่นสำรองมีถึง 7 คน.
  • เปลี่ยนตัวสำรองได้ถึง 3 คนในช่วงเวลา 90 นาที, แต่สามารถอนุญาตใช้เปลี่ยนตัวผู้เล่นลงสนามคนที่สี่ในช่วงต่อเวลาพิเศษ.

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:TwitterSnowflake บรรทัดที่ 45: attempt to index local 'x' (a nil value)
  2. 2.0 2.1 "Carabao Cup Final: Match Officials confirmed". EFL.com. English Football League. 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2020. สืบค้นเมื่อ 29 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2020. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  3. "Key dates for the 2019/20 season". English Football League. สืบค้นเมื่อ 19 December 2019.
  4. "Carabao Cup 2020 final: How to watch, tickets, teams, time & date". Goal.com. สืบค้นเมื่อ 2020-01-28.
  5. "Carabao Cup: Crewe 1-6 Aston Villa". BBC Sport. 27 August 2019. สืบค้นเมื่อ 28 January 2020.
  6. "Brighton & Hove Albion 1-3 Aston Villa: Conor Hourihane scores win". BBC Sport. 25 September 2019. สืบค้นเมื่อ 28 January 2020.
  7. Sutcliffe, Steve (30 October 2019). "Aston Villa 2-1 Wolverhampton Wanderers". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 28 January 2020.
  8. Stone, Simon (17 December 2019). "Aston Villa 5-0 Liverpool: Dean Smith's side overwhelm young Liverpool side". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 28 January 2020.
  9. McNulty, Phil (8 January 2020). "Carabao Cup - Leicester City 1-1 Aston Villa: Kelechi Iheanacho equaliser sets up second leg". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 28 January 2020.
  10. "Aston Villa v Leicester City latest - Carabao Cup semi-final, second leg". BBC Sport. 28 January 2020. สืบค้นเมื่อ 28 January 2020.
  11. Begley, Emlyn (24 September 2019). "Preston 0-3 Manchester City: Holders ease through to fourth round". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 29 January 2020.
  12. Bevan, Chris (29 October 2019). "Man City 3-1 Southampton: Sergio Aguero scores twice to put City into Carabao Cup quarters". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 29 January 2020.
  13. Bevan, Chris (7 January 2020). "Carabao Cup - Man Utd 1-3 Man City: Holders overwhelm rivals in semi-final first leg". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 29 January 2020.
  14. 14.0 14.1 "Manchester City 0-1 Manchester United". BBC Sport. 29 January 2020. สืบค้นเมื่อ 29 January 2020.
  15. "Regulations". EFL.com. English Football League. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2019. สืบค้นเมื่อ 24 February 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]