รายนามประมุขแห่งรัฐฮังการี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฮังการี
Magyarország köztársasági elnöke
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
ทามาส ซูลีออค

ตั้งแต่ 5 มีนาคม 2024
จวนSándor Palace
บูดาเปสต์, ฮังการี
ผู้แต่งตั้งสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
วาระ5 ปี
ผู้ประเดิมตำแหน่งMátyás Szűrös
สถาปนา23 ตุลาคม 1989
เว็บไซต์keh.hu

รายนามประมุขแห่งรัฐของประเทศฮังการี ตั้งแต่การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1848จนถึงปัจจุบัน

ปัจจุบันประมุขแห่งรัฐฮังการีเป็นตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ (ฮังการี: Magyarország köztársasági elnöke) ประธานาธิบดีนั้นมาจากการเลือกตั้งโดยสมาชิกของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 5 ปี ซึ่งบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฮังการี

ประธานาธิบดีคนปัจจุบันคือ คาทาลิน โนวัก เป็นผู้ได้รับเลือกคนล่าสุดโดยเริ่มดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 2022

รัฐฮังการี (1849)[แก้]

พรรค       Opposition Party

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
1 ลอโยช โคชชูต
(1802–1894)
14 เมษายน 1849 11 สิงหาคม 1849 Opposition Party ผู้ว่าการ-ประธานาธิบดี
ภายหลังนายกรัฐมนตรี
จนถึง 1 พฤษภาคม 1849
ออร์ตูร์ เกอร์แกย์
(1818–1916)
11 สิงหาคม 1849 13 สิงหาคม 1849 กองทัพปฏิวัติ ผู้เผด็จการ
รักษาการแทนฝ่ายบริหารพลเรือนและทหาร

ภายหลังจากความล้มเหลวในการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1848 ราชอาณาจักรฮังการีได้รับการฟื้นฟูจนกลายเป็นส่วนสำคัญของจักรวรรดิออสเตรียจนถึงในปี ค.ศ. 1867 เมื่อราชาธิปไตยออสเตรีย-ฮังการีได้รับการสถาปนาขึ้น และราชอาณาจักรฮังการีได้รับการจัดตั้งเป็นดินแดนแห่งมงกุฏของนักบุญสตีเฟน

ดินแดนแห่งมงกุฏของนักบุญสตีเฟน (1867–1918)[แก้]

สาธารณรัฐประชาชนฮังการี (1918–1919)[แก้]

พรรค       F48P–Károlyi

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
1 มิฮาย กาโรยี
(1875–1955)
16 พฤศจิกายน 1918 11 มกราคม 1919 F48P–Károlyi ประธานาธิบดีชั่วคราวแห่งสาธารณรัฐ
และนายกรัฐมนตรี
11 มกราคม 1919 21 มีนาคม 1919 ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ

สาธารณรัฐโซเวียตฮังการี (1919)[แก้]

พรรค       MSZP/SZKMMP

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
1 ซานโดร์ กอร์บอยี
(1879–1947)
21 มีนาคม 1919 1 สิงหาคม 1919 MSZP/SZKMMP ประธานสภาปกครองกลาง

สาธารณรัฐประชาชนฮังการี (1919)[แก้]

พรรค       MSZDP

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
1 จูลอ ไพเดิล
(1873–1943)
1 สิงหาคม 1919 6 สิงหาคม 1919 MSZDP นายกรัฐมนตรี
รักษาการแทนประมุขแห่งรัฐ

สาธารณรัฐฮังการี (1919-1920)[แก้]

พรรค       KNEP       อิสระ

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
1 อาร์ชดยุกโจเซฟ ออกุสตุส
(1872–1962)
7 สิงหาคม 1919 23 สิงหาคม 1919 อิสระ
(ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์)
ผู้สำเร็จราชการแห่งฮังการี
อิชต์วาน ฟรีดริช
(1883–1951)
23 สิงหาคม 1919 24 พฤศจิกายน 1919 KNP → KNEP นายกรัฐมนตรี
รักษาการแทนประมุขแห่งรัฐ
กาโรยี ฮูสซาร์
(1882–1941)
24 พฤศจิกายน 1919 1 มีนาคม 1920 KNEP

ราชอาณาจักรฮังการี (1920–1946)[แก้]

      อิสระ

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
2 มิกโลช โฮร์ตี
(1868-1957)
1 มีนาคม 1920 15 ตุลาคม 1944 อิสระ ผู้สำเร็จราชการแห่งฮังการี

รัฐบาลเอกภาพแห่งชาติฮังการี (1944–1945)[แก้]

พรรค       NYKP

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
1 แฟแร็นตส์ ซาลอชี
(1897-1946)
16 ตุลาคม 1944 28 มีนาคม 1945 NYKP ผู้นำแห่งชาติ
(โดยพฤตินัยแล้ว เป็นหุ่นเชิดของนาซีเยอรมนี)
และนายกรัฐมนตรี

รัฐบาลชั่วคราวภายใต้การหนุนหลังของสหภาพโซเวียต (1944–1946)[แก้]

พรรค       อิสระ

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
เบลอ มิกโลช
(1890–1948)
21 ธันวาคม 1944 25 มกราคม 1945 อิสระ ประมุขแห่งรัฐ
และนายกรัฐมนตรี
ในปฏิปักษ์
สภาสูงแห่งชาติ 26 มกราคม 1945 1 กุมภาพันธ์ 1946 ระบบพหุพรรค คณะประมุขแห่งรัฐ
ในปฏิปักษ์จนถึงวันที่ 28 มีนาคม 1945

สาธารณรัฐฮังการี (1946–1949)[แก้]

พรรค       FKGP       MKP-MDP

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
2 โซลตาน ทิลดี
(1889–1961)
1 กุมภาพันธ์ 1946 3 สิงหาคม 1948 FKGP ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ
3 อาร์ปัด ซากาชิทส์
(1888–1965)
3 สิงหาคม 1948 23 สิงหาคม 1949 MDP

สาธารณรัฐประชาชนฮังการี (1949–1989)[แก้]

ประธานสภาประธานาธิบดี[แก้]

พรรค       MDP-MSZMP       อิสระ

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
1 อาร์ปัด ซากาชิทส์
(1888–1965)
23 สิงหาคม 1949 26 เมษายน 1950 MDP ประธานสภาประธานาธิบดี
2 ซานโดร์ โรนอยี
(1892–1965)
26 เมษายน 1950 14 สิงหาคม 1952
3 อิชต์วาน โดบี
(1898–1968)
14 สิงหาคม 1952 25 ตุลาคม 1956
(3) 25 ตุลาคม 1956 14 เมษายน 1967 MSZMP
4 ปาล โรโชนซี
(1919–2005)
14 เมษายน 1967 25 มิถุนายน 1987
5 กาโรยี เนแมต
(1922–2008)
25 มิถุนายน 1987 29 มิถุนายน 1988
6 บรูโน แฟแร็นตส์ สเตราบ์
(1914–1996)
29 มิถุนายน 1988 23 ตุลาคม 1989 อิสระ

เลขาธิการพรรคประชาชนแรงงานฮังการี / พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี[แก้]

พรรค       MDP-MSZMP

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง หมายเหตุ
1 มาทยาช ราโกชี
(1892–1971)
12 มิถุนายน 1948 28 มิถุนายน 1953 MDP เลขาธิการพรรค นายกรัฐมนตรี (1952–1953)
28 มิถุนายน 1953 18 กรกฎาคม 1956 เลขาธิการอันดับหนึ่ง
2 แอร์เนอ แกเรอ
(1898–1980)
18 กรกฎาคม 1956 25 ตุลาคม 1956
3 ยาโนช กาดาร์
(1912–1989)
25 ตุลาคม 1956 30/31 ตุลาคม 1956 นายกรัฐมนตรี
(1956–1958) และ
(1961–1965)
(3) 1 พฤศจิกายน 1956 28 มีนาคม 1985 MSZMP
28 มีนาคม 1985 27 พฤษภาคม 1988 เลขาธิการพรรค
4 กาโรยี โกร์ซ
(1930–1996)
27 พฤษภาคม 1988 7 ตุลาคม 1989 นายกรัฐมนตรี (1987–1988)
5 แรเซอ แญร์ช
(1923–2018)
26 มิถุนายน 1989 7 ตุลาคม 1989 ประธานพรรค[1]

สาธารณรัฐฮังการี/ประเทศฮังการี (1989–ปัจจุบัน)[แก้]

พรรค       MSZMP-MSZP       SZDSZ       Fidesz       อิสระ

ลับดับที่ รูปภาพ ชื่อ เริ่มต้น สิ้นสุด พรรคการเมือง ตำแหน่ง
มาทยาส สซูโรส
(1933–)
23 ตุลาคม 1989 2 พฤษภาคม 1990 MSZP ประธานาธิบดีชั่วคราวแห่งสาธารณรัฐ
อาร์ปัด กอนซ์
(1922–2015)
2 พฤษภาคม 1990 3 สิงหาคม 1990 SZDSZ รักษาการประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ
1 4 สิงหาคม 1990 4 สิงหาคม 1995 ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ
4 สิงหาคม 1995 4 สิงหาคม 2000
2 เฟเรนก์ มาดล์
(1931–2011)
4 สิงหาคม 2000 5 สิงหาคม 2005 อิสระ
3 ลาสโล ซอลยม
(1942–)
5 สิงหาคม 2005 6 สิงหาคม 2010
4 พาล ชมิต
(1942–)
6 สิงหาคม 2010 2 เมษายน 2012
(ลาออก)
Fidesz
ลาซโล เกอเวร์
(1959–)
2 เมษายน 2012 10 พฤษภาคม 2012 รักษาการประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ
5 ยาโนช อาแดร์
(1959–)
10 พฤษภาคม 2012 9 พฤษภาคม 2022 ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ
6 คาทาลิน โนวัก
(1977–)
10 พฤษภาคม 2022 26 กุมภาพันธ์ 2024
ลาออก
László Kövér
(1959–)
26 กุมภาพันธ์ 2024 5 มีนาคม 2024 รักษาการประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ
7 ทามาส ซูลีออค
(1956–)
5 มีนาคม 2024 ยังดำรงตำแหน่ง อิสระ ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ

หมายเหตุ[แก้]

  1. ขณะที่แญร์ชดำรงตำแหน่งเลขาธิการใหญ่จนถึงวันที่ 7 ตุลาคม แญร์ชสดำรงตำแหน่งในคณะประธานทั้งสี่คนของพรรค ภายหลังการปรับโครงสร้างผู้นำพรรค และเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน เขากลายเป็นผู้นำฝ่ายบริหารโดยพฤตินัยของทั้งพรรคและประเทศหลังจากปี 1989